ก่อนอื่นอย่าคิดว่าผลิตกระแสได้มาก ให้คิดเป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าซะดีกว่า เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำคือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า (แม้เราจะได้ยินคำว่า Induced Current หรือกระแสเหนี่ยวนำ)
1. คิดเหมือนต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมครับ ส่วนเรื่องความต้านทานของลวดนั้น จริงอยู่ที่ว่า ความยาวของลวดยาวของลวดมาก ความต้านทานก็น่าจะยิ่งมาก แต่ความต้านทานนั้นก็ยังน้อยนิดเมื่อเทียบกับความต้านทานของอุปกรณ์ไฟฟ้าชิ้นอื่นๆ (พิสูจน์ได้โดยการทำแลบ) ดังนั้นความต้านทานของลวดจึงถือว่าละทิ้งได้
2. และ 3. ผมไม่รู้ว่าจะอธิบายเป็นคำพูดล้วนๆ ยังไง เอาเป็นว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า

N คือจำนวนรอบ
ส่วนฟลักซ์

นั้นขึ้นอยู่กับผลคูณของสนามแม่เหล็กกับพื้นที่ในระนาบที่ตั้งฉากกับสนาม ดังนั้นถ้าสนามแม่เหล็กมาก แรงเคลื่อนก็มาก (ข้อ 2) และถ้าหมุนเร็ว ระนาบตั้งฉากก็มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว (

มีค่ามาก) ทำให้แรงเคลื่อนมาก (ข้อ 3)