P o W i i
neutrino
Offline
Posts: 174
|
 |
« on: February 18, 2006, 08:35:37 PM » |
|
มาทำกันเถอะ เสร็จแล้วโพสด้วย  
|
|
« Last Edit: February 21, 2006, 07:40:56 AM by ปิยพงษ์ »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #1 on: February 19, 2006, 10:50:20 PM » |
|
ขอลองทำดูนะครับ ข้อ 1จากสมการของเลนส์  จะได้ว่า  เมื่อต้องการหาระยะห่างระหว่างวัตถุกับภาพจริงที่ น้อยที่สุด ทำการ differentiate   แก้สมการได้ค่า  ซึ่งค่า  นี้เป็นไปไม่ได้ เมื่อได้  จะได้  ดังนั้น  ซึ่งสามารถพิจารณาได้จากความสมมาตรของตำแหน่งวัตถุและภาพ ในกรณีระยะห่างที่มากที่สุดนั้น ไม่จำเป็นต้องคำนวณ คิดได้จากเมื่อเราวางคิดวัตถุไว้ที่ ระยะโฟกัส หรือ ระยะอนันต์ เมื่อวางวัตถุที่ระยะโฟกัสภาพจะเกิดที่ระยะอนันต์ เมื่อวางวัตถุที่ระยะอนันต์ภาพจะเกิดที่ระยะโฟกัส ดังนั้น 
|
|
« Last Edit: February 21, 2006, 07:41:10 AM by ปิยพงษ์ »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #2 on: February 19, 2006, 11:07:44 PM » |
|
ข้อ 2เสียงที่มีความถี่สูงสุด คือ เสียงที่ออกมาจากนกหวีดในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ เสียงที่มีความถี่ตำสุด คือ เสียงที่ออกมาจากนกหวีดในทิศสวนทางกับการเคลื่อนที่ของแหล่งกำเนิด(นกหวีด) หาได้จากปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ จะได้ว่า   โดย  คืออัตราเร็วของเสียง เท่ากับ 330 m/s และ  คืออัตราเร็วของแหล่งกำเนิดหาได้จาก  เท่ากับ 5 m/s แทนค่าในสมการจะได้  และ 
|
|
« Last Edit: February 21, 2006, 07:41:24 AM by ปิยพงษ์ »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #3 on: February 19, 2006, 11:52:32 PM » |
|
ข้อ 5อัตราการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าไปเป็นความร้อนในวงจรนี้เท่ากับ  ให้  จากแผนภาพเฟเซอร์จะได้ว่า  และ   ค่าจะต่ำหรือสูงนั้น ขึ้นอยู่กับแฟกเตอร์  โดยที่  ลองพิจารณาว่าถ้าหากเราทำให้ค่าที่ไม่คงที่นั้นเป็น  หรือ  นั้น ค่า  จะสูงสุดเมื่อค่าใดค่าหนึ่งหรือทั้งสองค่าเป็นศูนย์ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในวงจรที่กำหนดมานี้ ที่นี้เปลี่ยนเป็น ตรึงค่า  แล้วให้  ไม่คงที่ หาค่าสูงสุดได้จาก  ได้ ดังนั้น 
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #4 on: February 20, 2006, 12:29:24 AM » |
|
ข้อ 6ก. ตอนแรกกระบอกสูบอยู่ในสมดุล ดังนั้น ความดันของก๊าซภายในมีค่าเท่ากับ ความดันบรรยากาศรวมกับ ความดันเนื่องจากลูกสูบถูกโน้มถ่วง  ข. เมื่อให้ความร้อนแก่ลูกสูบ มันจะเคลื่อนที่ขึ้นอย่างช้าๆ ภายใต้สมดุล(ความเร็วคงที่)  ค. กำลังงานที่อากาศในกระบอกสูบทำคือกำลังงานที่ใช้ต้านแรงดันเนื่องจากน้ำหนักของลูกสูบและความดันบรรยากาศ  ง. จากกฎข้อที่ 1 ของ Thermodynamics  ทำการ differentiate ทั้งสองข้างของสมการ จะได้  เนื่องจากลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นอย่างช้าๆ ความดันของแก๊สจึงมีค่าคงที่เท่ากับ  ค่าของ  หาได้จากสมการของพลังงานภายในระบบของ ideal gas  หารตลอดทั้งสองข้างด้วย  ได้  แทนค่ากลับในสมการดั่งเดิม จะได้ 
|
|
« Last Edit: March 11, 2010, 08:13:01 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #5 on: February 20, 2006, 09:36:31 PM » |
|
ข้อ 3เรานำผลของขนาดสนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า I ในเส้นลวดวงกลมรัศมี R ที่ระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง x และอยู่บนแกนของวงลวด ที่กล่าวว่า  นำเป็นพิจารณาวงกระแสเล็กๆในข้อนี้ จะได้ว่า  จากโจทย์ เราจะรู้ว่า เส้นลวดแต่ละเส้นนั้นหนา  และแต่ละเส้นมีกระแส  ดังนั้น  แทนกลับเข้าไปในสมการ ได้  ทำการเปลี่ยนตัวแปรให้   ก. ในการหาค่าสนามแม่เหล็กที่จุด O ถ้าแทนค่า x=0 ไปในผลนี้เราจะหาค่าไม่ได้ จึงแทนค่า x=o ไปตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนตัวแปร และก่อนการ integrate ในสมการ  จะได้  ทำการ integrate  ข. เมื่อ  ค่าของ a จึงแทบไม่มีผลต่อสนามแม่เหล็กที่ได้ จึงให้ค่าของ a ประมาณ 0 ไป ได้ ค. นำผลของข้อ ก มาแทนค่า a=0 ได้  ผลที่ได้นี้ไม่ผิดปกติในทางทฤษฎี แต่ในทางปฎิบัติเป็นไปไม่ได้ เพราะตอนที่เราคิดในทางทฤษฎี เราได้นำผลของกรณีที่กำหนดไว้ว่าลวดไม่มีความหนามาทำให้มีความหนาเล็กๆ แล้ว integrate รวมกัน เสมือนว่าเอาลวดที่ไม่มีความหนาหรือหนาเป็น 0 มาต่อกัน ก็เป็นไปไม่ได้ที่จะมีความหนาอยู่ดี เพราะกำหนดให้วางติดกันถี่ยิบ ผิดตรงไหนบอกด้วยนะครับ คราวนี้มั่วอย่างน่ากลัว
|
|
« Last Edit: March 06, 2010, 07:32:05 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #6 on: February 20, 2006, 11:17:53 PM » |
|
ข้อ 4เราหาค่าของสนามไฟฟ้าที่จุด O ได้โดยการ integrate เป็นมุมโดยแบ่งครึ่งทรงกลมออกเป็นวงแหวนบางๆ ได้ค่า  ก. ถ้านำประจุ +Q วางไว้ แรงที่มันผลักกันจะเท่ากับ  ข. ถ้านำครึ่งทรงกลมอีกอันที่เหมือนกันทุกประการแต่มีประจุตรงข้ามไปวาง สนามไฟฟ้าที่จุดนั้นจะมีค่า เป็น 2 เท่าของเดิม คือ  ค. 
|
|
« Last Edit: March 06, 2010, 07:32:39 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #7 on: February 21, 2006, 05:44:02 PM » |
|
ขอคำแนะนำในการทำ ข้อ 4-ค ทีครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #8 on: February 22, 2006, 11:20:17 PM » |
|
ถ้ามีแนวคิดเรื่องจุดศูนย์กลางมวลที่เสมือนว่ามวลไปรวมอยู่ที่ตรงจุดนั้น แล้วมีแนวคิดเรื่องจุดศูนย์กลางของกลุ่มประจุไฟฟ้ามั้ยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
MwitStu.
neutrino
Offline
Posts: 365
รักแท้แพ้ใกล้ชิด อยู่ห่างคนละทิศหมดสิทธิ์ครอบครอง
|
 |
« Reply #9 on: February 26, 2006, 06:22:32 PM » |
|
เราจะประมาณว่าแผ่นที่มาประกบนั้นเป็นจุดประจุได้มั้ยครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
The Best
neutrino
Offline
Posts: 15
|
 |
« Reply #10 on: February 23, 2011, 02:10:23 PM » |
|
ข้อสี่ ข้อ ค ทำอย่างไรหรอครับ คือผมลองคิดว่าแรงที่ทันดูดกันเกิดจากสนามที่จุด o อย่างเดียวได้มั้ยครับ หรือว่าต้องอินทิเกรตแล้วค่อยประมาณตอนหลัง รบกวนผู้รู้ช่วยชี้แนด้วยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
The Best
neutrino
Offline
Posts: 15
|
 |
« Reply #11 on: February 25, 2011, 10:56:19 AM » |
|
ถ้าหากผมลองทำการประมาณ  โดย - ประมาณให้ผิวครึ่งทรงกลมนั้นเป็นประจุจุดโดยที่ประจุนี้ห่างจากจุด  เป็นระยะที่ทำให้สนามไฟฟ้าที่จุด  นั้นมีค่าเท่าเดิม - ประมาณให้แผ่นระนาบนั้นเป็นประจุจุดอยู่ที่จุด จากนั้นทำการหาแรงดึงดูด ไม่ทราบว่าทำเช่นนี้แล้วมีข้อผิดพลาดอย่างไร และหากผู้ใดทราบวิธีคิดที่ถูกต้องรบกวนช่วยชี้แนะด้วยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #12 on: February 25, 2011, 11:13:21 AM » |
|
ถ้าหากผมลองทำการประมาณ  โดย - ประมาณให้ผิวครึ่งทรงกลมนั้นเป็นประจุจุดโดยที่ประจุนี้ห่างจากจุด  เป็นระยะที่ทำให้สนามไฟฟ้าที่จุด  นั้นมีค่าเท่าเดิม - ประมาณให้แผ่นระนาบนั้นเป็นประจุจุดอยู่ที่จุด จากนั้นทำการหาแรงดึงดูด ไม่ทราบว่าทำเช่นนี้แล้วมีข้อผิดพลาดอย่างไร และหากผู้ใดทราบวิธีคิดที่ถูกต้องรบกวนช่วยชี้แนะด้วยครับ  คิดประมาณง่าย ๆ โดยเอาสนามไฟฟ้าที่จุด  เนื่องจากผิวครึ่งทรงกลมคูณกับประจุบนแผ่นระนาบที่ประมาณว่ารวมเป็นประจุจุดที่จุด  ขนาดแรงที่ได้มันต้องมีค่าสูงเกินไปอยู่แล้วเพราะว่าสนามไฟฟ้าบนแผ่นระนาบมันไม่ได้มีค่าสม่ำเสมอ ถ้าอยากรู้ว่าคนออกข้อสอบคิดอย่างไรก็เอาคำถามนี้ไปถามอ.วุทธิพันธุ์เวลาที่เปิดค่ายสองเดือนมีนาคมนี้ ได้คำตอบแล้วอย่าลืมมาโพสต์บอกคนอื่น ๆ ด้วย 
|
|
« Last Edit: February 25, 2011, 11:15:26 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
The Best
neutrino
Offline
Posts: 15
|
 |
« Reply #13 on: February 25, 2011, 02:52:48 PM » |
|
ถ้าหากผมลองทำการประมาณ  โดย - ประมาณให้ผิวครึ่งทรงกลมนั้นเป็นประจุจุดโดยที่ประจุนี้ห่างจากจุด  เป็นระยะที่ทำให้สนามไฟฟ้าที่จุด  นั้นมีค่าเท่าเดิม - ประมาณให้แผ่นระนาบนั้นเป็นประจุจุดอยู่ที่จุด จากนั้นทำการหาแรงดึงดูด ไม่ทราบว่าทำเช่นนี้แล้วมีข้อผิดพลาดอย่างไร และหากผู้ใด ทราบวิธีคิดที่ถูกต้องรบกวนช่วยชี้แนะด้วยครับ  คิดประมาณง่าย ๆ โดยเอาสนามไฟฟ้าที่จุด  เนื่องจากผิวครึ่งทรงกลมคูณกับประจุบนแผ่นระนาบที่ประมาณว่ารวมเป็นประจุจุดที่จุด  ขนาดแรงที่ได้มันต้องมีค่าสูงเกินไปอยู่แล้วเพราะว่าสนามไฟฟ้าบนแผ่นระนาบมันไม่ได้มีค่าสม่ำเสมอ ถ้าอยากรู้ว่าคนออกข้อสอบคิดอย่างไรก็เอาคำถามนี้ไปถามอ.วุทธิพันธุ์เวลาที่เปิดค่ายสองเดือนมีนาคมนี้ ได้คำตอบแล้วอย่าลืมมาโพสต์บอกคนอื่น ๆ ด้วย  ขอบคุณครับอาจารย์ แล้วถ้าอย่างที่ผมนั้นได้เขียนไปครับจะผิดมั้ยครับ คือผมใช้แนวคิดคล้ายๆกับหาแรงที่นำครึ่งทรงกลมสองอันประจุตรงข้ามกันมาประกบกันครับ หรือว่าผมเข้าใจอะไรผิดไป รบกวนอีครั้งด้วยครับ (ส่วนคำตอบนั้นที่อาจารย์แนะนำจะนำมาลงให้เมื่อถึงที่พักครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
The Best
neutrino
Offline
Posts: 15
|
 |
« Reply #14 on: February 28, 2011, 12:23:07 PM » |
|
ขออภัยด้วยนะครับช่วงนี้ รร.อยู่ในช่วงสอบเลยไม่ได้โพสท์วิธีทำไว้ครับ  แต่ ได้ 
|
|
« Last Edit: February 28, 2011, 12:27:51 PM by The Best »
|
Logged
|
|
|
|
|