ข้อ1ครับ
สนามไฟฟ้า



หากระแสของวงแหวน
ขอลองมาขยายความที่อ.ปิยพงษ์เม้นไว้ข้างล่างนะครับ อันก่อนที่ผมทำอาจจะลัดขั้นตอนจนผิดวิธีจริงๆครับเริ่มจาก

ของจุดแผ่นเล็กๆดังรูป ประกอบด้วยcomponentของ

ทิศขึ้นตามแกนหมุน และ

ทิศชี้ออกตั้งฉากกับแกนหมุน ซึ่งถ้าเรารวมสนามแม่เหล็กของแผ่นนี้ไปตามมุม

จนครบวง จะได้สนามแม่เหล็กของวงแหวน ซึ่งมีทิศชี้ขึ้นเนื่องจากของทิศxหักล้างกันหมด ฉะนั้นสนามแม่เหล็กของวงแหวน

จะเป็นการรวมของสนามแม่เหล็ก

จนครบวง ขนาดเท่ากับ

ทีนี้เราจะมาดูหลักของ Biot-Savart

ประจุของแผ่นเล็กๆ

และหมุนด้วย

ตั้งสมการสนามแม่เหล็กของแผ่นเล็กๆนี้
![\delta B_{y}=\delta B sin\theta=\left[ \frac{\mu _{0}}{4\pi }\cdot \frac{(\omega rsin\theta) \left(\sigma rsin\theta \delta \phi \right)\left( r\delta \theta \right)}{r^{2}} \right] sin\theta \delta B_{y}=\delta B sin\theta=\left[ \frac{\mu _{0}}{4\pi }\cdot \frac{(\omega rsin\theta) \left(\sigma rsin\theta \delta \phi \right)\left( r\delta \theta \right)}{r^{2}} \right] sin\theta](/forums/Sources/latex/pictures/7cf3ff92db8617132e8c1cd0c40b15e7.png)
จะได้ว่า

คือผลรวม

จนครบวง
สามารถเขียนในรูป
![\delta B_{O}=\left[ \frac{\mu _{0}}{4\pi }\cdot \frac{(\omega rsin\theta) \left( \sigma r\delta \theta \right)}{r^{2}}\int_{0}^{2\pi } rsin\theta d\phi \right] sin\theta \delta B_{O}=\left[ \frac{\mu _{0}}{4\pi }\cdot \frac{(\omega rsin\theta) \left( \sigma r\delta \theta \right)}{r^{2}}\int_{0}^{2\pi } rsin\theta d\phi \right] sin\theta](/forums/Sources/latex/pictures/47b4a58cbdea69eb09008f8422ac81cc.png)

ซึ่ง

ซึ่งก็เป็นขนาดเส้นรอบวงของวงแหวนพอดี
จะเห็นว่าcomponentส่วนนี้ เราสามารถเริ่มต้นคิดสนามแม่เหล็กจากวงแหวนเส้นรอบวง

ได้เลย โดยระลึกไว้ว่าทิศทางของสนามแม่เหล็กนี้มีทิศตามแนวแกนหมุนและทิศxจะต้องหักล้างกันไป
จากนั้นก็ไปต่อตามด้านล่างเลยครับ ไม่รู้ว่าอธิบายได้ถูกรึป่าวจากรูป
สนามแม่เหล็ก



จะได้

ดังนั้น a=0.75