gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« on: January 11, 2014, 09:32:06 PM » |
|
คือจากวงจร RC ตอนคายประจุน่ะครับ ผมตั้งสมการว่า
กำหนดใน ตัวเก็บประจุ มีประจุ q ต่อกับตัวต้านทัน R ผมจะหากระเเสที่เวลาใด เเต่ติดตรงเครื่องหมายครับ
พอตั้งสมการเริ่มต้น q/C - ir = 0 สุดท้ายกลายเปนว่ายิ่งนาน กระเเสที่เเทนที่จะลดลงกลับมากขึ้น คือสงสัยว่า พจน์ -ir เเต่สงสัยครับว่าทำไมผิด
|
|
|
Logged
|
|
|
|
krirkfah
|
 |
« Reply #1 on: January 12, 2014, 12:49:34 AM » |
|
ผมว่า  มันติดลบในตัวอยู่แล้วครับ เพราะ q มันลดลง
|
|
« Last Edit: January 15, 2014, 07:59:51 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #2 on: January 12, 2014, 09:25:08 AM » |
|
แนะให้ว่าลองคิดดูดีๆครับว่า  หรือเปล่า จริงๆแล้วกระแสมัน นิยามแบบนั้นแน่นอน แต่ว่าลองคิดดูครับว่าประจุที่แทนอยู่ในสมการนั้นมันมีความหมายเดียวกันหรือไม่
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #3 on: January 12, 2014, 11:44:39 AM » |
|
ขอบคุณครับ ตอนนี้เลยตั้ง E - (ก้อนนี้ต้องเป็น + เนื่องจากศักย์ต้องลดลง)=0 ซึ่งก้อนนั้น เท่ากับ ir เเต่ i<0 ดังนั้นก้อนนี้ต้องเท่ากับ (-i)r รวมเเล้ว E-(-ir) =E+ir=0 เเต่ผมสงสัยในเรื่องการคายประจุในวงจร LC ครับ คืออ่านในหนังสือเขาบอก ของ young เล่ม 2 เชาบอกว่าให้ dq/dt เเทนประจุของเเผ่นตัวเก็บประจุฝั่งซ้ายที่เปลี่ยนไป(คาดว่าน่าจะหมายถึงฝัง่ที่มีประจุ +) คืองงว่า เรามีอิสระเเล้วจะคิดเเบบนั้นได้หรือครับ ผมนึงว่า dq/dt คือประจุที่ผ่านหน้าตัดนึงต่อเวลาซะอีก
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #4 on: January 12, 2014, 05:17:23 PM » |
|
ขอบคุณครับ ตอนนี้เลยตั้ง E - (ก้อนนี้ต้องเป็น + เนื่องจากศักย์ต้องลดลง)=0 ซึ่งก้อนนั้น เท่ากับ ir เเต่ i<0 ดังนั้นก้อนนี้ต้องเท่ากับ (-i)r รวมเเล้ว E-(-ir) =E+ir=0 เเต่ผมสงสัยในเรื่องการคายประจุในวงจร LC ครับ คืออ่านในหนังสือเขาบอก ของ young เล่ม 2 เชาบอกว่าให้ dq/dt เเทนประจุของเเผ่นตัวเก็บประจุฝั่งซ้ายที่เปลี่ยนไป(คาดว่าน่าจะหมายถึงฝัง่ที่มีประจุ +) คืองงว่า เรามีอิสระเเล้วจะคิดเเบบนั้นได้หรือครับ ผมนึงว่า dq/dt คือประจุที่ผ่านหน้าตัดนึงต่อเวลาซะอีก
เรามีอิสระที่จะคิด(อย่างถูกต้องตามกฏเกณฑ์ทางฟิสิกส์  )แน่นอนครับ เราสามารถกำหนดทิศทางบวกสำหรับทิศการไหลของกระแสได้อย่างอิสระ(แม้ว่าผมจะพูดว่าทิศแต่กระแสเป็นปริมาณสเกลาร์) ส่วนสำหรับคำตอบของคำถามสุดท้ายนั้น ผมแนะนำว่าลองกลับไปคิดที่ผมเขียนไว้ในโพสต์ที่แล้วดีๆครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #5 on: January 12, 2014, 07:32:54 PM » |
|
ขอบคุณครับ จะลองกลับไปคิด (กลับมาอ่านคอมเม้นตัวเองรู้สึกพิมพ์ผิดเยอะจัง รู้สึกจะผิดทุกคอมเม้นเลย  )
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #6 on: January 14, 2014, 10:15:01 PM » |
|
คือลองไปอ่านอีกที สรุปได้ว่า i= dq/dt มันอยู่ที่เราจะเลือกนิยามได้ใช่ไหมครับ คือผลที่ได้เหมือนกันต่างเเค่เครื่องหมาย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #7 on: January 15, 2014, 07:20:32 AM » |
|
คือลองไปอ่านอีกที สรุปได้ว่า i= dq/dt มันอยู่ที่เราจะเลือกนิยามได้ใช่ไหมครับ คือผลที่ได้เหมือนกันต่างเเค่เครื่องหมาย
เราเลือกนิยามทิศบวกของมันได้ครับ ความจริงการที่เราบอกว่า นิยามทิศบวกจริงๆแล้วคือการ กำหนดทิศ  ต่างหากครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #8 on: January 15, 2014, 09:48:23 PM » |
|
ขอบคุณมากครับ
คือผมพยายามเข้าใจอีกเเบบไม่รู้ถูกหรือเปล่่า ช่วยชี้เเนะทีนะครับ คือ สมมุติเราจะเขียน สมการวงจรจะได้ q/c -หรือ + ตามด้วย Ldi/dt = 0 (ที่ใส่ - หรือ + เสมือนเราเริ่มวิเคราะห์ วงจร เเบบไม่รู้อะไรเเต่ใส่ระวังไว้ก่อน)
เเต่ i = dq/dt ซึ่ง dq นั้นต้องสัมพันธ์กับ พจน์ q/c ด้วย เมื่อเวลาผ่านไป พจน์ q/c มี q ลดลง จะได้ dq/dt น้อยกว่า 0 จึงได้ di/dt น้อยกว่าศูนย์ จะได้ ว่า q/c - (-Ldi/dt) = q/c+Ldi/dt
ถ้าผิดตรงไหนช่วยเเก้ทีนะครับ ขอบคุณมากครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #9 on: January 16, 2014, 08:04:13 AM » |
|
คือความจริงผมอยากจะบอกว่า  ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ  เสมอไปและการที่มันจะเป็นอะไรนั้นมันขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของเรา ทิศที่เรากำหนด และความจริงแล้วเราไม่จำเป็นต้องไปดูว่า qลด Iลด แล้วdI/dtลด อะไรแบบนั้น เพราะมันอาจมีกรณีที่qลดแล้วIเพิ่มก็ได้ เราแค่กำหนดทิศของมันและวนกฏของkirchoff ตามทิศที่ถูกพร้อมกับเครื่องหมายซึ่งเราจะได้มาจากการอินทิกราลครับ และที่จริง ถ้าเรารู้ที่มาของกฏทั้งสองของ เราก็จะไม่สับสนกับเรื่องเครื่องหมายเลยครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #10 on: January 16, 2014, 08:42:13 AM » |
|
ขอบคุณครับ จะศึกษาเพิ่มเติมดู
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #11 on: January 16, 2014, 07:47:31 PM » |
|
ตอนนี้ลองวนกระเเสเเบบ kirchhoff ครับโดยไม่ได้ใช้ dq/dt จะเปนลบหรือ + เลย คือ เมื่อเริ่มคายประจุ จะเดินวนจาก เเบต ขั้ว - ไป + เเล้วไปยังตัวเเหนี่ยวนำ จะได้ว่า q/c + ( Ldi/dt) =0 ที่ + ไปเพราะ ทิศของเเรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ มีทิศตรงข้ามกับกระเเส เเปลว่า กำลัง เดินไปยังบริเวณศักย์ที่สูงขึ้น เหมือนเดินจาก - ไป + เเบบนี้ใช่ไหมครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #12 on: January 16, 2014, 08:44:05 PM » |
|
การที่สมการของเราจะมีหน้าตาแบบไหนมันขึ้นอยู่กับทิศกระแสที่เรากำหนด อีกอย่างตรงนี้ ...เมื่อเริ่มคายประจุ จะเดินวนจาก เเบต ขั้ว - ไป +... ตอนที่เราวนมันน่าจะเป็นลบมากกว่าแล้วใช้ ถ้ายังงงเรื่องเครื่องหมายผมแนะว่าลองอ่านในyoungครับ อีกอย่างทิศแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำมีทิศตรงข้ามกับ การเปลียนแปลงกระแส ไม่ใช่ตัวกระแสเอง
|
|
|
Logged
|
|
|
|
gotzilawut
neutrino
Offline
Posts: 164
|
 |
« Reply #13 on: January 23, 2014, 09:43:28 PM » |
|
ครับ ขอบคุณครับ (ขอโทษที่ตอบช้าครับ จะไปลองอ่านเพิ่มดู )
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|