ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« on: November 13, 2013, 06:04:29 PM » |
|
ข้อสอบปลายค่าย 1 ปี 56-57
|
|
« Last Edit: November 13, 2013, 06:09:42 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
krirkfah
|
 |
« Reply #1 on: November 13, 2013, 10:46:01 PM » |
|
|
|
« Last Edit: November 20, 2013, 08:26:46 PM by krirkfah »
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #2 on: November 14, 2013, 01:32:33 PM » |
|
ข้อ 1 ครับ ผมได้ คุณ krirkfah ช่วยแสดงวิธีทำ+อินทิเกรตออกมาด้วยสิครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #3 on: November 17, 2013, 05:56:57 PM » |
|
อ่าคือผมอยากถามว่ากลศาสตร์ข้อสองนี่ ถ้าผมประมาณว่าหลังจากชนกับโฟตอนแล้วทั้งนิวตรอนและไพออนแทบจะไม่เคลื่อนที่ แล้วแกมมาประมาณ1เลย ได้ไหมครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #4 on: November 17, 2013, 07:21:38 PM » |
|
อ่าคือผมอยากถามว่ากลศาสตร์ข้อสองนี่ ถ้าผมประมาณว่าหลังจากชนกับโฟตอนแล้วทั้งนิวตรอนและไพออนแทบจะไม่เคลื่อนที่ แล้วแกมมาประมาณ1เลย ได้ไหมครับ
การหาค่าต่ำสุดควรจะหาในกรอบจุดศูนย์กลางโมเมนตัมที่โมเมนตัมทั้งหมดของระบบเป็นศูนย์ แล้วค่อยแปลงกลับเป็นค่าในกรอบห้องปฏิบัติการ
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #5 on: November 17, 2013, 08:04:47 PM » |
|
อ่าคือผมอยากถามว่ากลศาสตร์ข้อสองนี่ ถ้าผมประมาณว่าหลังจากชนกับโฟตอนแล้วทั้งนิวตรอนและไพออนแทบจะไม่เคลื่อนที่ แล้วแกมมาประมาณ1เลย ได้ไหมครับ
การหาค่าต่ำสุดควรจะหาในกรอบจุดศูนย์กลางโมเมนตัมที่โมเมนตัมทั้งหมดของระบบเป็นศูนย์ แล้วค่อยแปลงกลับเป็นค่าในกรอบห้องปฏิบัติการ ก็คือมองว่าในกรอบศูนย์กลางโมเมนตัมอนุภาคหลังชนหยุดนิ่งหมดจึงจะได้พลังงานต่ำสุดใช่ไหมครับ ข้อนี้ในห้องสอบผมเผลอไปคิดแบบอนุรักษ์พลังงาน แล้วประมาณแกมมาเป็น1เลยครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #6 on: November 17, 2013, 09:37:57 PM » |
|
... ก็คือมองว่าในกรอบศูนย์กลางโมเมนตัมอนุภาคหลังชนหยุดนิ่งหมดจึงจะได้พลังงานต่ำสุดใช่ไหมครับ ...
ใช่แล้ว ว่าง ๆ ช่วยทำเฉลยตั้งแต่ข้อแรกให้หน่อยสิ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
dy
neutrino
Offline
Posts: 384
Every problem has its solution, and its time,too.
|
 |
« Reply #7 on: November 17, 2013, 11:07:59 PM » |
|
ข้อแรก หากลองทำจากการหาศักย์ไฟฟ้าจากกรวยก่อน แล้วค่อยไปหาสนามไฟฟ้า คิดว่าน่าจะอินทิเกรตง่ายกว่าครับ 
|
|
|
Logged
|
 Fight for MIT. Silver medalist from 44th IPhO , 14th APhO
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #8 on: November 22, 2013, 07:52:25 PM » |
|
|
|
|
Logged
|
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #9 on: November 22, 2013, 08:07:18 PM » |
|
ข้อสองครับ 2.1กระแสที่ไหลเราอาจมองได้ว่าเป็นประจุต่อหน่วยเวลานั่นคือ   2.2 จากกฏของบิโอต์-ซาวาต์และผลจากลวดวงกลมจะได้  2.3 อินทิเกรตก้อนด้านบนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้าย   ต่อไปนี้คือการอินทิเกรตก้อนนี้ครับ  ให้     ![\displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[ -2\int\cos \theta d\theta+3\int\sin \theta d\theta+3 \int\sec\theta d\theta+ \int \sin\theta \tan^{2}\theta d\theta \right] \displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[ -2\int\cos \theta d\theta+3\int\sin \theta d\theta+3 \int\sec\theta d\theta+ \int \sin\theta \tan^{2}\theta d\theta \right]](/forums/Sources/latex/pictures/9a42fca0ad808a67ad8eaa09f0ffd266.png) ![\displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[-2\sin\theta-3\cos\theta+\ln(\sec\theta+\tan\theta)-(-\frac{1}{\cos\theta}-\cos\theta) \right] \displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[-2\sin\theta-3\cos\theta+\ln(\sec\theta+\tan\theta)-(-\frac{1}{\cos\theta}-\cos\theta) \right]](/forums/Sources/latex/pictures/110daa568b25f834a2fa20e3820c568a.png) ![\displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[-2\sin\theta-2\cos\theta+\ln(\sec\theta+\tan\theta)+\frac{1}{\cos\theta} \right] \displaystyle =\frac{D}{4\sqrt{2}} \left[-2\sin\theta-2\cos\theta+\ln(\sec\theta+\tan\theta)+\frac{1}{\cos\theta} \right]](/forums/Sources/latex/pictures/189e5e3b7aee943f5fcf5c99b8eba7cf.png) หลังจากนั้นก็ใส่ขอบเขตลงไปก็จะได้คำตอบครับ 2.4 ต่อให้เราไม่ได้อินทิเกรตออกมาแต่เราก็ยังพอเดาได้ว่าอินทิกรัลมันจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร และด้วยการวิเคราะห์มิติ นี่แนะว่าความสัมพันธ์ระหว่าง E กับ B คือ  โดยที่Cคือค่าคงตัวที่ได้จากการแทนค่าของอินทิกรัล
|
|
« Last Edit: December 01, 2013, 03:43:27 PM by jali »
|
Logged
|
|
|
|
|
Kolbe
neutrino
Offline
Posts: 97
Time and tide wait for no man.
|
 |
« Reply #11 on: November 22, 2013, 10:25:47 PM » |
|
|
|
|
Logged
|
Every cloud has a silver lining 
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #12 on: November 23, 2013, 10:09:15 AM » |
|
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #13 on: November 24, 2013, 08:12:31 PM » |
|
กลศาสตร์ข้อหนึ่งครับ อย่างแรกเราสามารถประมาณได้ว่ารัศมีการโคจรมีค่าพอๆกับรัศมีโลกเพราะเป็นวงโคจรต่ำและระยะของเชือกเป็นแค่ร้อยเมตรดังนั้นเราประมาณอีกว่าอัตราเร็วเชิงมุมของยานและคนมีค่าเท่ากัน เราจะได้ว่าแรงตึงเชือกเป็นแรงเข้าสู่ศูนย์กลางเพิ่มเติมและได้ นำสมการนี้ไปเข้าสูตรความเร่งคงตัวเลย กดเครื่องคิดเลขมาจะได้ เวลาเท่ากับ  ปล.ข้อเทอร์โมนั้นรู้สึกว่าจะมีคนทำหลายวิธีมากแต่เดี๋ยวว่างๆผมจะเอาของเพื่อนมาลงให้ดูครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
มะตูม Kitabodin
Conan is a physicist
neutrino
Offline
Posts: 122
555
|
 |
« Reply #14 on: April 13, 2014, 12:34:07 PM » |
|
ข้อ 1 ครับ ประจุเล็กๆคือประจุ  สนามไฟฟ้าจากประจุเล็กๆ คือ.... 
|
|
« Last Edit: April 13, 2014, 12:36:37 PM by คีตบดินทร์ เจนณะสมบัติ »
|
Logged
|
[img alt=]http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/7/7c/Go-home.svg/100px-Go-home.svg.png[/img]
|
|
|
|