ขอลองทำส่วนของ อ.สิรพัฒน์ ก่อนเลยนะครับ
1) กระบวนการแรก ปริมาตรคงที่ รับความร้อน

จากนิยามของ

จะได้ว่า

จะได้ว่า

จากปริมาตรคงตัว ได้ว่า

ได้ว่า

และ

โดย

2) กระบวนการที่สอง อุณหภูมิคงตัว จึงได้ว่า

ดังนั้น


และ

โดย

3) กระบวนการที่สาม ปริมาตรคงตัว โดยผมมองว่า ก๊าซจะถ่ายเทความร้อนไปเรื่อยๆ จนกว่าอุณหภูมิจะเท่ากับลูกสูบเย็น คือ

ดังนั้น

จะได้ว่า


และ

โดย

4) กระบวนการที่สี่ อุณหภูมิคงตัว กลับไปที่สถานะเดิม ดังนั้น

และ

โดย

สังเกตว่ากระบวนการที่ 1 และ 2 ความร้อนเข้าสู่ระบบ จะได้ว่า

สังเกตว่ากระบวนการที่ 3 และ 4 ความร้อนออกจากระบบ จะได้ว่า

ดังนั้นประสิทธิภาพของเครื่องยนต์นี้คือ

....................
ตอบข้อย่อยที่ 2มาถึงข้อย่อยที่ 3 นะครับ
เรามองว่า ตัวเลข

นี่เป็นกำลังต่อ

ครับ ให้ค่านี้แทนด้วย

จะได้ว่า ความดันที่ทำต่อแผ่นคือ

(ความดันจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า) ให้ลำแสงมีรัศมี

ก็จะได้ว่า แรงที่แสงทำต่อแผ่นคือ

ตามโจทย์ให้พิจารณาเป็นมวลจุด สมมติให้แต่ละแผ่นมีมวล

อยู่ห่างจากแกนหมุนเป็นระยะเท่ากับ

ก็จะได้สมการทอร์กรอบแกนหมุนเป็น


โดยแผ่นเริ่มหมุนจากหยุดนิ่งจึงได้

ดังนั้นจำนวนรอบต่อวินาทีหรือความถี่จึงมีค่าเป็น

แทนค่าเป็นตัวเลข






จะได้ว่า

หรือ

รอบต่อวินาที ซึ่งน้อยมาก

.......
ตอบข้อย่อยที่ 3มาถึงข้อย่อยที่ 4 ครับ ผมคิดว่า จากสมการความดันในข้อย่อยที่แล้ว เห็นได้ว่า ถ้าผิวด้านไหนได้รับความเข้มมากกว่า ก็จะมีความดันมาทำต่อฝั่งนั้นมากกว่า จึงมีแรงดันมากกว่าอีกฝั่ง เราเห็นได้ว่า ฝั่งสีดำสามารถดูดกลืนความเข้มได้มากกว่าสีขาว จึงมีความดันทำต่อด้านสีดำมากกว่าสีขาว ส่งผลให้ได้รับแรงดันมากกว่า ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า แผ่นจะหมุนไปในทิศที่เรายิงแสงเข้าใส่แผ่นสีดำ .............................. ตอบข้อย่อยที่ 4แก้ไขนะครับ ไม่น่าพลาดเลย โดยในข้อย่อยนี้นั้น เราใช้กลศาสตร์คลาสสิกวิเคราะห์ว่า ฝั่งสีดำนั้น แสงที่ยิงเข้าไปจะถูกดูดกลืนไว้ทั้งหมดโดยไม่สะท้อนออกมาเลย ส่วนสีขาวจะสะท้อนออกมาอย่างเต็มที่ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมจึงเกิดที่ฝั่งด้านสีขาวมากกว่า จึงสรุปได้ว่า ด้านสีขาวนั้นถูกแรงกระทำมากกว่าด้านสีดำ ดังนั้น
แผ่นจะหมุนไปในด้านที่ยิงแสงเข้าใส่แผ่นสีขาว ................................
ตอบข้อย่อยที่ 4สำหรับข้อย่อยที่ 5 ครับ ผมมองว่า ถ้าเปรียบเทียบเครื่องจักร Stirling เป็นแผ่นแล้ว ความร้อนที่เข้าสู่ระบบทั้งหมดก็คือ ความร้อนจากเลเซอร์นั่นเอง ตรงนี้จะเทียบได้กับตอนผ่านกระบวนการรับความร้อนแบบปริมาตรคงที่ และกระบวนการรับความร้อนแล้วขยายตัวตอน isothermal จากนั้น กระบวนการต่อไปคือการแผ่ความร้อนไปยังบริเวณรอบๆที่เย็นกว่าของแผ่น รวมถึงด้านสีขาวที่ได้รับความร้อนน้อยกว่าด้วย ระหว่างกระบวนการนี้ เรามองได้ว่า งานที่ได้จากวัฎจักรก็คือ งานในการเพิ่มพลังงานจลน์ของการหมุนของแผ่นนั่นเอง จากนั้นแผ่นก็จะเริ่มคายความร้อน ( เทียบได้กับ ตอนคายความร้อนแบบปริมาตรคงที่ และแบบ isothermal ไปสถานะเดิม ) ออกไป โดยงานสุทธิที่ได้จากการให้ความร้อนทั้งหมดนี้ ก็คือพลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปของแผ่นนั่นเอง โดยถ้าใช้มุมมองด้านอุณหพลศาสตร์มาอธิบาย เราจะเห็นได้ว่า ในช่วงแรกของการยิงนั้น อุณหภูมิของแผ่นด้านสีดำสูงกว่าแผ่นด้านสีขาว ดังนั้นจากสมการ

จะพอกล่าวได้ว่า แผ่นด้านสีดำมีแรงดันกระทำมากกว่าด้านสีขาว ดังนั้น
แผ่นจะหมุนไปในทิศที่เรายิงแสงเข้าใส่แผ่นสีดำ ......
ตอบข้อย่อยที่ 5จากผลในข้อย่อยที่ 2 เราได้ว่างาน

จากทฤษฎีงาน-พลังงาน เราได้ว่า

จึงได้ว่า

ดังนั้นความถี่หรือจำนวนรอบต่อวินาทีจึงเป็น

แทนค่าเป็นตัวเลข







จะได้ว่า

หรือประมาณ

รอบต่อวินาที ...........................
ตอบข้อย่อยที่ 5ผิดถูกอย่างไรตรวจสอบด้วยนะครับ
