พลังงานศักย์เป็นสิ่งสมมุติ ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจำว่างานที่ทำโดยแรงอนุรักษ์มีค่าเท่าใด
สิ่งที่สำคัญในเรื่องงานพลังงานคือ งานที่ทำโดยแรงสุทธิ = ผลต่างพลังงานจลน์
งานโดยแรงสุทธิ = งานโดยแรง F1 + งานโดยแรง F2 + งานโดยแรง F3 + ...
งานโดยแรงบางแรงไม่ขึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนที่ แรงพวกนี้เรียกว่าแรงอนุรักษ์ งานที่ทำโดยแรงนี้มีรูปแบบเป็น
เพื่อความง่าย สมมุติว่าแรงสุทธิมีแต่แรงอนุรักษ์เพียงแรงเดียว จาก งานที่ทำโดยแรงสุทธิ = ผลต่างพลังงานจลน์ เราจะได้ว่า

หรือเขียนได้ว่า

สำหรับงานโดยแรงโน้มถ่วง

พบว่า
โดยที่

เป็นพิกัดตามแนวดิ่ง (ทิศขึ้นเป็นทิศบวก) ซึ่งวัดเทียบกับจุดอ้างอิงใดก็ได้ แล้วแต่สะดวก ผลต่าง

จะมีค่า
ไม่ขึ้นกับจุดอ้างอิงดังนั้น

จะมีค่า
ไม่ขึ้นกับจุดอ้างอิงโดยทั่วไป นิยามของพลังงานศักย์

คือ

ที่

โดยที่

เป็นจุดอ้างอิงของพลังงานศักย์ที่เลือกตามสะดวก
อย่างแรก เลยนะครับที่จุดที่ตกลงมาถึงผิวโลกแล้วพลังงานศักย์อาจมีค่าเท่าใดก็ได้(ซึ่งก็แล้วแต่เรากำหนดพิกัดอ้างอิง อาจมี ค่าเป็นศูนย์หรือไม่ก็ได้)การที่เราจะดูว่าพลังงานเปลี่ยนไปเท่าใดก็ดูได้ที่ความแตกต่างของตำแหน่งเพราะตัวพลังงานศักย์เองก็เป็นพลังงานที่ขึ้นกับตำแหน่งด้วย
เช่นถ้าเรากำหนดให้ที่ผิวโต๊ะเป็นจุดกำเนิดของแกนอ้างอิงการที่วัตถุตกจากที่สูงกว่ามาลงบนโต๊ะพลังงานจลน์จะเปลี่ยนไปเท่ากับงานที่แรงโน้มถ่วงทำจากจุดแรกมาถึงโต๊ะ
ลองดูนี่ครับ
http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/index.php/topic,5691.0.htmlงานโดยแรงบางแรงไม่ขึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนที่
ลักษณะของแรงประเภทนี้มีอะไรบ้างหรือครับ เป็นเฉพาะในแรงพิสัยไกลหรือเปล่า?
ส่วนเรื่องพลังงานศักย์เราสรุปว่าสนใจแค่ ผลต่างพลังงานของจุดสองจุด
ไม่ว่าจะเอาจุดไหนอ้างอิง ถึงได้พลังงานศักย์ต่างกัน แต่ผลต่างจะเท่ากัน ผมเข้าใจถูกไหมครับ?