...
เราได้ว่าความต่างศักย์ระหว่างแผ่นที่หนึ่งกับแผ่นที่ 2 เป็น

แผ่นที่ 2 กับ 3 เป็น

แผ่นที่ 3 กับ 4 เป็น

มันจะหยุดถ่ายเทประจุเมื่อศักย์ไฟฟ้าของแผ่นหนึ่งกับแผ่นที่ 3 เท่ากัน
และแผ่นที่ 2 กับ 4 เท่ากันตรงนี้แหละครับ
1.ผมไม่รู้ว่าจะใช้ความต่างศักย์ที่หามาได้เพื่อรู้การกระจายประจุอย่างไร
2.ให้ใช้ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนำตัวไหนที่จะใช้ในข้อความที่ว่า"ประจุจะหยุดถ่ายเทเมื่อความต่างศักย์เท่ากัน"
...
1. เราต้องระวังให้ดี ๆ ว่ามีความแตกต่างกันระหว่าง ศักย์

กับ ความต่างศักย์

และใช้ให้ถูกต้อง
2. นิยามความจุของตัวเก็บประจุเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ขนาดประจุบนแต่ละตัวนำกับ
ขนาดความต่างศักย์คร่อมตัวนำคู่นั้น

3. สำหรับไฟฟ้าสถิต ศักย์ไฟฟ้าบนตัวนำมีค่าเท่ากันทุกแห่ง
4. แผ่นที่มีประจุบวกมีศักย์สูงกว่าแผ่นที่มีประจุลบ
5. ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างสองจุดใด ๆ ไม่ขึ้นกับเส้นทาง
สำหรับตัวอย่างที่ยกมา ให้ตั้งชื่อแผ่นจากบนลงล่างมาเป็นแผ่น 1, 2, 3, 4 ตามลำดับ
คิดความต่างศักย์ระหว่างแผ่น 1 และแผ่น 3 สองเส้นทาง เส้นทางแรกมาทางเส้นลวดตัวนำซ้ายมือที่ต่อระหว่างแผ่น 1 และแผ่น 3 เส้นทางที่สองลงมาตรง ๆ ผ่านตัวเก็บประจุ 2
ทำให้ได้ว่า

ทำนองเดียวกัน สำหรับความต่างศักย์ระหว่างแผ่น 2 และแผ่น 4 ถ้าเราให้ประจุบนแผ่น 4 เป็น

ประจุด้านล่างแผ่น 3 จะเป็น

(ในรูปในความเห็น #9 เขาอาจคิดเร็วไปหน่อย คือดูจากความสมมาตร) จะได้ว่า

ทำให้ได้ว่า

เราหาความจุสมมูล

คร่อมขั้ว P และขั้ว Q ได้จากนิยาม
ประจุบวกที่ใส่เข้าไปที่ขั้ว P กระจายไปที่ด้านบนและด้านล่างของแผ่น 2 และที่แผ่น 4 ดังนั้น

ขนาดความต่างศักย์คร่อมขั้ว P และ Q คือขนาดความต่างศักย์คร่อมแผ่น 2 และ 3 ซึ่งเท่ากับ

ดังนั้น
