Bragg Grating!

1. ในกรณีทั่วไป (ไม่จำเป็นว่าแสงต้องตกกระทบตั้งฉากผิวรอยต่อ) Boundary conditions ได้แก่
(1) สนามไฟฟ้า

และ magnetic field strength

ต่อเนื่องในแนวขนานผิวรอยต่อ

(2) displacement

และสนามแม่เหล็ก

ต่อเนื่องในแนวตั้งฉากผิวรอยต่อ

ในข้อนี้แสงตกกระทบตั้งฉากผิวรอยต่อ ดังนั้นทั้ง E,H,D,B อยู่ในแนวขนานผิวรอยต่อทั้งหมด (ไม่มีองค์ประกอบใดอยู่ในแนวตั้งฉากผิวรอยต่อเลย)
พิจารณาแสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ไปยัง 2
สมการที่ 1 คือ สนามไฟฟ้าต่อเนื่องในแนวขนานผิวรอยต่อ

--> (1)
สมการที่ 2 คือ magnetic field strength ต่อเนื่องในแนวขนานผิวรอยต่อ

-->(2)
(ถือว่าทั้งสองตัวกลางไม่ใช่สารแม่เหล็ก ดังนั้น

และ

สมการที่ 3 คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็ก



สะสางได้สัมประสิทธิ์การสะท้อน สำหรับแสงเดินทางจากตัวกลาง 1 ไป 2

โจทย์กำหนด

และ
จึงได้ว่า
*

และ

ประมาณเท่ากันในเชิงการบวกได้ (บวกกันได้

) แต่ประมาณเท่ากันในเชิงการลบไม่ได้ เพราะไม่งั้นก็ลบกันเหลือ 0 น่ะสิ!
และสัมประสิทธิ์การสะท้อน สำหรับแสงเดินทางจากตัวกลาง 2 ไป 1
2.
มีแสงหลายชุดที่ย้อนกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกที ได้แก่ แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 1, แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 1, แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 2, แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 2, แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 3, แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 3, ..., แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่

, แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่

ให้สัมประสิทธิ์การส่งผ่าน

ตัดเทอม

ทิ้งได้ แปลว่า ให้คิดว่ามีการสะท้อนเพียงครั้งเดียว นั่นคือ เราคิดถึงแสงจากจุดเริ่มต้น มาสะท้อนแผ่นที่

แล้วกลับไปยังจุดเริ่มต้นเลยเท่านั้น
แสงที่สะท้อนแผ่นที่

แล้วไปสะท้อนแผ่นที่

อื่นอีก มีแอมพลิจูดน้อยมากจนไม่ต้องคำนึงถึง
แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 1 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

(เป็นสัมประสิทธิ์การสะท้อน สำหรับแสงเดินทางจากตัวกลาง 1 ไป 2)
แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 1 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

(เป็นสัมประสิทธิ์การสะท้อน สำหรับแสงเดินทางจากตัวกลาง 2 ไป 1) (มีเฟสเพิ่มขึ้นจากอันข้างบนเนื่องจากแสงเดินทางยาวกว่า แสงเดินทางในตัวกลางที่ 2 จึงต้องใช้

และเดินทางเป็นระยะ

)
แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 2 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

(มีเฟสเพิ่มขึ้นเนื่องจากแสงเดินทางยาวกว่า แสงเดินทางในตัวกลางที่ 1 ได้ระยะ

และเดินทางในตัวกลางที่ 2 ได้ระยะ

)
แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 2 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

แสงที่สะท้อนขอบซ้ายของแผ่นที่ 3 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

แสงที่สะท้อนขอบขวาของแผ่นที่ 3 แล้วกลับมายังจุดเริ่มต้น มีสมการเป็น

...
...
...
แสงที่กลับมายังจุดเริ่มต้น รวมทั้งหมด คือ
จำนวน

วงเล็บ
จำนวน

พจน์
เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี

อัตราส่วนร่วม

จำนวนพจน์

จะหาผลบวกได้จากสูตร


เทคนิคคณิตศาสตร์




ดังนั้น

และ

จึงได้


โจทย์กำหนด

ดังนั้น

และ

จึงได้


ดังนั้น อัตราส่วน แอมพลิจูดรวมของคลื่นสะท้อน/

คือ

reflectance

คือ กำลังสองของอัตราส่วนแอมพลิจูดดังกล่าว
ดังนั้น

ยาวจัง
