ampan
|
 |
« on: July 06, 2011, 01:38:26 PM » |
|
จากรูป มีแผ่นตัวนำสี่แผ่น A B C D แต่ละแผ่นห่างกัน d เท่ากัน โดยที่แผ่น B มีประจุความหนาแน่นประจุต่อพ.ท.  แผ่น A, C, D นั้นเดิมไม่มีประจุสะสมอยู่ เมื่อต่อ A, C และ D ลงดิน ถามว่า  มีค่าเท่าไร ให้สมมติว่า แผ่นตัวนำมีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างแผ่น
|
|
« Last Edit: July 06, 2011, 03:31:47 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #1 on: July 07, 2011, 10:26:22 AM » |
|
โจทย์น่าสนใจดี จะมีใครทำไหมนี่ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #2 on: July 07, 2011, 12:32:57 PM » |
|
นั่นสิครับ อ.ปิยพงษ์ จะมีใครมาทำไหม ตอนที่ผมทำ เอ๊ะ เราเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า  แต่พอทำดูแล้ว อ่อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง 
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #3 on: July 07, 2011, 09:01:20 PM » |
|
หรือว่า โจทย์ มันง่ายไป เลยไม่มีใครทำ งั้นเรามาลอง ทำโจทย์ที่ง่ายกว่านี้หน่อย โดยที่ ลดแผ่นเหลือ แค่ สามแผ่น (ตัดแผ่น D ตามรูป) ออก แล้ว ลองหา ความหนาแน่นประจุบนแต่ละแผ่นกันดู โดยที่เราจะ สมมติว่า แผ่น A และ แผ่น C อยู่ห่างจาก B เท่ากัน ถ้ามีประจุ ถูกเหนี่ยวนำขึ้น มาก็ คงมีค่าเท่ากัน และ ความหนาแน่น ของประจุ รวม ของแผ่น A และ C ก็ จะ รวมกัน เป็น  ก็เลยได้แบบ เบลอๆ ก็ แผ่น A และ C น่าจะมี ความหนาแน่นของประจุ แต่ละแผ่น เท่ากับ  หึหึ เฉลยแบบ ไม่มีหลักฐานทางฟิสิกส์
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #4 on: July 09, 2011, 11:15:28 AM » |
|
เหอๆๆ ทุกคนกำลังใจจดใจจ่อ กับ การแข่งฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศเลย ไม่มีใครมาทำเลย ┐( ̄ヘ ̄)┌
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #5 on: July 09, 2011, 02:00:10 PM » |
|
... และ ความหนาแน่น ของประจุ รวม ของแผ่น A และ C ก็ จะ รวมกัน เป็น  ... ทำไมรวมกันเป็น  มีเหตุผลทางฟิสิกส์อย่างไร 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
It is GOL
neutrino
Offline
Posts: 337
|
 |
« Reply #6 on: July 09, 2011, 05:26:41 PM » |
|
... และ ความหนาแน่น ของประจุ รวม ของแผ่น A และ C ก็ จะ รวมกัน เป็น  ... ทำไมรวมกันเป็น  มีเหตุผลทางฟิสิกส์อย่างไร  ถ้าเราสร้าง Guassian Surface รอบแผ่นทั้ง 3 แผ่น (หรือ 4 แผ่นในข้อแรกก็ตาม) เนื่องจากสนามไฟฟ้าบน Surface ของเราทุกจุด เป็น 0 จึงได้ข้อสรุปว่า แผ่นทั้งหมดที่ต่อสายดินต้องรวมกันได้  ใช่ไหมครับ 
|
|
|
Logged
|
It is GOL coming !!! ผมจะเอาชนะความไม่รู้ให้ได้!!
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #7 on: July 09, 2011, 05:40:28 PM » |
|
... และ ความหนาแน่น ของประจุ รวม ของแผ่น A และ C ก็ จะ รวมกัน เป็น  ... ทำไมรวมกันเป็น  มีเหตุผลทางฟิสิกส์อย่างไร  ถ้าเราสร้าง Guassian Surface รอบแผ่นทั้ง 3 แผ่น (หรือ 4 แผ่นในข้อแรกก็ตาม) เนื่องจากสนามไฟฟ้าบน Surface ของเราทุกจุด เป็น 0 จึงได้ข้อสรุปว่า แผ่นทั้งหมดที่ต่อสายดินต้องรวมกันได้  ใช่ไหมครับ  1. สนามไฟฟ้าบนผิวอะไร? ถ้าเป็นผิวตัวนำ สนามไฟฟ้าไม่จำเป็นต้องเป็นศูนย์ แต่ถ้าเป็นในเนื้อตัวนำล่ะก็ สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2.  เป็นความหนาแน่นประจุบนผิวด้านใดด้านหนึ่งของแผ่น B ใช่ไหม หรือว่านิยามอย่างไร
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #8 on: July 09, 2011, 05:43:18 PM » |
|
มึคนมาตอบให้ ว่าแต่จะให้ดี ทำโจทย์ข้อแรก ให้ผมด้วยก็จะมีมากเลย  ♪\(^ω^\)( /^ω^)/ แต่ มีอย่างหนึ่ง ที่จะถามเพื่อ ความแน่ใจ ว่าแน่ใจได้อย่างไร ว่า สนามไฟฟ้าบน Guassian Surface มีค่า เป็น ศูนย์
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #9 on: July 09, 2011, 05:45:34 PM » |
|
1. สนามไฟฟ้าบนผิวอะไร? ถ้าเป็นผิวตัวนำ สนามไฟฟ้าไม่จำเป็นต้องเป็นศูนย์ แต่ถ้าเป็นในเนื้อตัวนำล่ะก็ สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2.  เป็นความหนาแน่นประจุบนผิวด้านใดด้านหนึ่งของแผ่น B ใช่ไหม หรือว่านิยามอย่างไร พิมพ์ไม่ทัน  อ.ปิยพงษ์ถามก่อนเสียแล้ว อายจัง (*/∇\*)
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
It is GOL
neutrino
Offline
Posts: 337
|
 |
« Reply #10 on: July 09, 2011, 06:04:28 PM » |
|
แน่ใจได้อย่างไร ว่า สนามไฟฟ้าบน Guassian Surface มีค่า เป็น ศูนย์
เพราะโรคสะเพร่าผมมันกำเริบน่ะสิ  สงสัยต้องหาเวลาไปฟื้นฟูซะแล้วครับ
|
|
|
Logged
|
It is GOL coming !!! ผมจะเอาชนะความไม่รู้ให้ได้!!
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #11 on: July 09, 2011, 07:06:32 PM » |
|
.... 2.  เป็นความหนาแน่นประจุบนผิวด้านใดด้านหนึ่งของแผ่น B ใช่ไหม หรือว่านิยามอย่างไร เพื่อความชัดเจนของนิยาม เราบอกว่า แผ่นตัวนำ B มี ความหนา t และ มี พท.หน้าตัด S เราให้ ประจุ Q แก่แผ่น B ซึ่ง โดยที่เราให้ t<<d ผมเองก็ ลืมนิยามไป (*^~^*)
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #12 on: July 09, 2011, 10:26:56 PM » |
|
... เพื่อความชัดเจนของนิยาม เราบอกว่า แผ่นตัวนำ B มี ความหนา t และ มี พท.หน้าตัด S เราให้ ประจุ Q แก่แผ่น B ซึ่ง ... ดังนั้นความหนาแน่นประจุต่อพื้นที่บนผิวด้านใดด้านหนึ่งของ B มึค่าเท่ากับ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
It is GOL
neutrino
Offline
Posts: 337
|
 |
« Reply #13 on: July 10, 2011, 10:24:30 AM » |
|
คิดไม่ออก  พี่ ampan ใบ้ให้หน่อยสิครับ 
|
|
|
Logged
|
It is GOL coming !!! ผมจะเอาชนะความไม่รู้ให้ได้!!
|
|
|
Tangg
neutrino
Offline
Posts: 198
|
 |
« Reply #14 on: July 10, 2011, 10:50:59 AM » |
|
แนะนำว่า ลองสร้างผิว Gaussian แบบในรูปดูครับ (ในรูป เรามองว่าแผ่นตัวนำมีขนาดนะครับ สีแดง น้ำเงิน และแดง ก็คือแผ่นตัวนำแผ่น บน กลาง และล่าง ตามลำดับครับ, ผิว Gaussian มีสีดำครับ) แล้วหลังจากนั้น ลองใช้นิยามที่ว่า ตัวนำที่ต่อสายดิน จะมีศักย์ไฟฟ้าเป็น 0 ครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|