ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #30 on: February 15, 2013, 08:46:39 PM » |
|
ใช่ครับมันอาจจะไม่ได้เหมือนเป็ะๆแต่ว่าเค้าก็ใช้ในอะไรที่ผมสงสัยนั่นก็คือ ความดันที่เราใช้ในสมการเบอรนูลีเป็นความดันที่กระทำตั้งฉากกับหน้าตัดของของไหลที่เรากำลังพิจารณา แต่ว่าความดันบรรยากาศมันกระทำที่ด้านข้างของของไหล ผมเลยสงสัยว่าเราใช้พจน์ความดันเป็นความดันบรรยากาศได้อย่างไรครับ
เขาประมาณ
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #31 on: February 16, 2013, 10:16:37 AM » |
|
อ๋อแสดงว่ามันไม่ได้เท่ากันเป็ะๆ แต่เราประมาณว่ามันเท่ากันได้ใช่ไหมครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #32 on: July 14, 2013, 08:52:43 PM » |
|
คำตอบข้อที่1ใช่  แล้วข้อที่2คือในsqarerootเหมือนเดิมแต่เพิ่ม-2glเข้าไป  แล้วข้อที่3ก็เปลี่ยนLเป็นL/squareroot2  ส่วนข้อที่4ผมคิดว่าถ้าให้ท่อยาวLข้อที่1ไม่จำเป็นต้องตรงแต่ข้อ2,3น่าจะจำเป็น ข้อที่5 สำหรับข้อ๑ผมใช้hเท่ากัน ข้อที่๒ผมใช้ h=Lแล้วให้p 1อยู่ด้านล่าง ข้อที่๓ผมใช้ h=L/ สงสัยคำตอบน่ะครับ คือที่ได้คำตอบเหล่านี้ออกมาทำโดยวิธีของงานพลังงาน แต่เราก็ใช้สมมติฐานที่ว่าปริมาตรของไหลที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดต่อหนึ่งหน่วยเวลามีค่าคงตัว(ไหลเข้าเท่าใดต้องไหลออกเท่านั้น) นั่นคือ Av มีค่าคงตัวตลอดซึ่งบ่งว่า  เพราะพื้นที่หน้าตัดเท่ากัน มันขัดแย้งกับคำตอบที่ได้โดยวิธีงานพลังงานซึ่งก็ถูกเหมือนกันครับ ผมเข้าใจตรงไหนผิดเหรอครับ 
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #33 on: July 15, 2013, 06:26:01 PM » |
|
... สงสัยคำตอบน่ะครับ คือที่ได้คำตอบเหล่านี้ออกมาทำโดยวิธีของงานพลังงาน แต่เราก็ใช้สมมติฐานที่ว่าปริมาตรของไหลที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดต่อหนึ่งหน่วยเวลามีค่าคงตัว(ไหลเข้าเท่าใดต้องไหลออกเท่านั้น) นั่นคือ Av มีค่าคงตัวตลอดซึ่งบ่งว่า  เพราะพื้นที่หน้าตัดเท่ากัน มันขัดแย้งกับคำตอบที่ได้โดยวิธีงานพลังงานซึ่งก็ถูกเหมือนกันครับ ผมเข้าใจตรงไหนผิดเหรอครับ  มันไม่ขัดกันหรอกครับ จริงๆแล้วพี่NiGเค้าอาจจะเขียนโจทย์ไม่ชัดเจน แต่ว่าเค้าไม่ได้บอกว่าพื้นที่มันเท่ากับAตลอดทั้งหน้าตัด อีกอย่างหนึ่งคำตอบที่ผมตอบไปมาจากวิธีของสมการเบอร์นูลลีซึ่งตอนนั้นผมยังงงกับการใช้สมการนี้อยู่ พี่เค้าเลยให้โจทย์แบบนี้มา แต่ถ้าเรายังยืนกรานว่าพื้นที่หน้าตัดที่ปลายมันมีค่าเท่ากัน สมการความต่อเนื่องจะให้อัตราเร็วมีค่าเท่ากันแบบที่คุณmopyiบอกมาและสมการเบอร์นูลลีจะบอกเราต่อทันทีเลยว่าความดันที่ทั้งสองปลายมีค่าเท่ากัน
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #34 on: July 16, 2013, 06:22:08 PM » |
|
... มันไม่ขัดกันหรอกครับ จริงๆแล้วพี่NiGเค้าอาจจะเขียนโจทย์ไม่ชัดเจน แต่ว่าเค้าไม่ได้บอกว่าพื้นที่มันเท่ากับAตลอดทั้งหน้าตัด อีกอย่างหนึ่งคำตอบที่ผมตอบไปมาจากวิธีของสมการเบอร์นูลลีซึ่งตอนนั้นผมยังงงกับการใช้สมการนี้อยู่ พี่เค้าเลยให้โจทย์แบบนี้มา แต่ถ้าเรายังยืนกรานว่าพื้นที่หน้าตัดที่ปลายมันมีค่าเท่ากัน สมการความต่อเนื่องจะให้อัตราเร็วมีค่าเท่ากันแบบที่คุณmopyiบอกมาและสมการเบอร์นูลลีจะบอกเราต่อทันทีเลยว่าความดันที่ทั้งสองปลายมีค่าเท่ากัน
เอ่อแล้วสรุปความดันทั้งสองปลายเท่ากันหรือไม่ครับ ถ้าไม่เท่ากันแสดงว่าโจทย์ของพี่NiGก็จะต้องมีพื้นที่หน้าตัดไม่เท่ากันสำหรับสองปลายเพื่อให้ความเร็วไม่เท่ากันและเพื่อให้เป็นไปตามสมการความต่อเนื่อง พื้นที่หน้าตัดจะต้องเปลี่ยนตามผลต่างความดันทุกครั้งเหรอครับ 
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #35 on: July 16, 2013, 06:57:47 PM » |
|
ผมจะตอบให้โดยรวมละกันนะครับ ถ้าคุณmopyiถามถึงข้อที่หนึ่ง สิ่งที่คุณพูดมามันก็ถูกละครับ เพราะผลที่ได้มันมาจากท่อในแนวระดับ แต่ว่า ถ้า คุณmopyiถามถึงผลที่มาจากข้ออื่นด้วยผมจะตอบได้ทันทีเลยว่าไม่ใช่ สมมุติว่าถ้าคุณmopyiดูข้อที่สอง เราจะพบว่าเราสามารถให้พื้นที่หน้าตัดเท่ากันได้โดยที่มีผลต่างความดันที่ไม่เป็น0 ... พื้นที่หน้าตัดจะต้องเปลี่ยนตามผลต่างความดันทุกครั้งเหรอครับ  ไม่จำเป็นครับขึ้นอยู่กับสถานการณ์
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #36 on: July 16, 2013, 07:36:05 PM » |
|
ผมหมายถึงข้อหนึ่งอย่างเดียวน่ะครับ(ขอโทษนะครับที่พูดไม่ชัดเจน  ) กรณีข้อหนึ่งซึ่งเห็นได้เลยว่าจากสมการแบร์นูลลี่อัตราเร็วที่สองปลายต้องขึ้นกับผลต่างของความดันแน่ๆดังนั้นแสดงว่าอัตราส่วนพื้นที่หน้าตัดต้องขึ้นกับผลต่างความดันด้วยจากสมการความต่อเนื่อง แต่เราสาสามารถเปลี่ยนผลต่างความดันได้ตามใจชอบแต่เราไม่สามารถเปลี่ยนอัตราส่วนพื้นที่หน้าตัดได้ทันทีทันใดเลยนะครับ 
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #37 on: July 16, 2013, 08:45:18 PM » |
|
... แต่เราสามารถเปลี่ยนผลต่างความดันได้ตามใจชอบแต่เราไม่สามารถเปลี่ยนอัตราส่วนพื้นที่หน้าตัดได้ทันทีทันใดเลยนะครับ  เรา ไม่สามารถเปลี่ยนผลต่างความดันได้ตามใจชอบ ถ้าหากการไหลเป็นแบบsteady flowจริงๆแบบที่เราสมมุติ สมการเบอร์นูลลีจะบังคับเลยว่าความดันต้องมีค่าเท่ากัน สภาวะทุกอย่างจะเป็นไปตามสมการที่เราได้มาและเรา สามารถกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นได้ แต่ว่าเราเปลี่ยนอะไรก็ตามที่ขัดกับกฏของเราไม่ได้
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #38 on: July 23, 2013, 07:55:11 PM » |
|
... เราไม่สามารถเปลี่ยนผลต่างความดันได้ตามใจชอบ ถ้าหากการไหลเป็นแบบsteady flowจริงๆแบบที่เราสมมุติ สมการเบอร์นูลลีจะบังคับเลยว่าความดันต้องมีค่าเท่ากัน สภาวะทุกอย่างจะเป็นไปตามสมการที่เราได้มาและเราสามารถกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นได้ แต่ว่าเราเปลี่ยนอะไรก็ตามที่ขัดกับกฏของเราไม่ได้
แล้วอย่างโจทย์ที่พี่เค้าให้มา มันเหมือนว่าความดันสองปลายจะเปลี่ยนเป็นยังไงก็ได้เลยนะครับ (คือ  และ  ) แล้วกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นนี่กำหนดยังไงเหรอครับ 
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #39 on: July 23, 2013, 09:01:54 PM » |
|
ก็พี่เค้ายังไม่ได้คำนวณนี่ครับ ว่ามันต้องเท่ากัน อีกอย่างเค้าก็ไม่ได้บอกว่ามันไม่เ่ท่ากัน การกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นของผมก็หมายความว่าเราสามารถกำหนดความดันและอัตราเร็วตั้งต้นได้
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #40 on: July 24, 2013, 08:07:55 PM » |
|
ก็พี่เค้ายังไม่ได้คำนวณนี่ครับ ว่ามันต้องเท่ากัน อีกอย่างเค้าก็ไม่ได้บอกว่ามันไม่เ่ท่ากัน การกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นของผมก็หมายความว่าเราสามารถกำหนดความดันและอัตราเร็วตั้งต้นได้
ถ้ามันไม่เท่ากันของเหลวมันก็จะไม่เคลื่อนที่นะครับเพราะตอนแรกอยู่นิ่งอยู่ 
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #41 on: July 24, 2013, 09:11:53 PM » |
|
ก็พี่เค้ายังไม่ได้คำนวณนี่ครับ ว่ามันต้องเท่ากัน อีกอย่างเค้าก็ไม่ได้บอกว่ามันไม่เ่ท่ากัน การกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นของผมก็หมายความว่าเราสามารถกำหนดความดันและอัตราเร็วตั้งต้นได้
ถ้ามันไม่เท่ากันของเหลวมันก็จะไม่เคลื่อนที่นะครับเพราะตอนแรกอยู่นิ่งอยู่  ตรงบรรทัดแรกผมพูดถึงตอนที่มันเคลื่อนที่แล้วนะครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #42 on: July 25, 2013, 01:46:31 PM » |
|
ก็พี่เค้ายังไม่ได้คำนวณนี่ครับ ว่ามันต้องเท่ากัน อีกอย่างเค้าก็ไม่ได้บอกว่ามันไม่เ่ท่ากัน การกำหนดเงื่อนไขตั้งต้นของผมก็หมายความว่าเราสามารถกำหนดความดันและอัตราเร็วตั้งต้นได้
ถ้ามันไม่เท่ากันของเหลวมันก็จะไม่เคลื่อนที่นะครับเพราะตอนแรกอยู่นิ่งอยู่  ตรงบรรทัดแรกผมพูดถึงตอนที่มันเคลื่อนที่แล้วนะครับ หมายถึงว่าตอนเคลื่อนที่ไปแล้วเหรอครับมันถึงมีความเร็วที่สองปลายเท่ากัน
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
jali
|
 |
« Reply #43 on: July 25, 2013, 06:21:01 PM » |
|
ผมจะพูดให้ชัดเจนอีกนิดละกันนะครับ บรรทัดแรกคือ สถาการณ์ตอนที่มันเข้าสู่ steady flow แล้ว
|
|
|
Logged
|
|
|
|
mopyi
neutrino
Offline
Posts: 374
|
 |
« Reply #44 on: July 25, 2013, 08:12:28 PM » |
|
ผมจะพูดให้ชัดเจนอีกนิดละกันนะครับ บรรทัดแรกคือ สถาการณ์ตอนที่มันเข้าสู่ steady flow แล้ว
สรุปก็คือตอนแรกสมการแบร์นูลลี่ใช้ไม่ได้ใช่ไหมครับ แต่ต้องรอไปอีกสักพักของไหลจึงจะกลับมาเป็น steady flow
|
|
|
Logged
|
Hitch your wagon to the star.
|
|
|
|