Q: หา

ยังไง
A: พิจารณาเวลาขณะที่โฟตอนตัวสุดท้ายของกลุ่มที่เคลื่อนที่ไปทางขวาในกรอบของผู้สังเกต คือตัวที่

พอดี สมมติด้วยนะว่าขอบซ้ายอยู่ที่จุดกำเนิดพอดี
Q: ตัวที่ 1 จำเป็นต้องแตะขอบทางซ้ายมั้ย
A: ไม่ต้อง ตัวที่หนึ่งนับจากขอบซ้ายแต่ไม่แตะขอบทางซ้าย
Q: แล้วไงต่อ
A: โฟตอนตัวที่

ยังไม่แตะขอบขวาในกรอบนิ่ง
Q: แล้วเมื่อไหร่มันจะแตะ
A: อีก
Q: หายังไง
A: ใช้หลักความพร้อมกัน Lorentz Transformation บอกว่า

และเรารู้อีก(จากความเก่ง)ว่า
Q: เสร็จยัง
A: ยัง ต้องหา

ด้วย วิธีหนึ่งที่ช่วยจัดการได้คือเรารู้ว่า

มีค่ามาก เปิดโอกาสให้เราเทียบ

และก็แก้สมการได้
Q: มั่วรึเปล่า
A: ไม่มั่วถ้าสมมติว่าโฟตอนมีเยอะมาก แต่ถ้ามีน้อย เช่นสมมติมีโฟตอนอยู่สองตัว

ได้ว่า

คำตอบเราก็ไม่มีประโยชน์แล้ว
Q: แล้วส่วนที่ไปทางซ้ายหละ
A: ง่ายๆ โฟตอนทั้งกล่องต้องรวมกันได้

เพราะฉะนั้น
