ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« on: December 04, 2010, 05:03:56 PM » |
|
Level j has degeneracy  so any of the  particles can enter into any of the  levels. อยากทราบว่า degeneracy ในประโยคนี้หมายถึงอะไรครับ (ทั้งประโยคนี้แปลว่าอะไรครับ) ผมเปิดในดิคแปลได้ว่าความเสื่อม โดยที่จำนวนวิธีที่เป็นไปได้มีอยู่  วิธี
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #1 on: December 05, 2010, 01:52:13 AM » |
|
Level j has degeneracy  so any of the  particles can enter into any of the  levels. อยากทราบว่า degeneracy ในประโยคนี้หมายถึงอะไรครับ (ทั้งประโยคนี้แปลว่าอะไรครับ) ผมเปิดในดิคแปลได้ว่าความเสื่อม โดยที่จำนวนวิธีที่เป็นไปได้มีอยู่  วิธี degeneracy แปลว่า สภาพซ้อนสถานะ หมายถึงการมีหลายสถานะที่มี eigenvalue เท่ากัน
|
|
« Last Edit: December 05, 2010, 02:34:09 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #2 on: December 05, 2010, 07:09:53 PM » |
|
แล้วเราจะสามารถหาค่าสภาพซ้อนสถานะจากพลังงานได้อย่างไรครับ
|
|
« Last Edit: December 05, 2010, 07:11:49 PM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #3 on: December 05, 2010, 09:19:21 PM » |
|
แล้วเราจะสามารถหาค่าสภาพซ้อนสถานะจากพลังงานได้อย่างไรครับ
หาจากพลังงานอย่างเดียวไม่ได้ ต้องพิจารณาระบบและหาจากหลักการกลศาสตร์ควอนตัม 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #4 on: December 05, 2010, 10:33:38 PM » |
|
แล้วเราจะสามารถหาค่าสภาพซ้อนสถานะจากพลังงานได้อย่างไรครับ
หาจากพลังงานอย่างเดียวไม่ได้ ต้องพิจารณาระบบและหาจากหลักการกลศาสตร์ควอนตัม  สมมุติว่ายังไม่คิดถึงหลักการกลศาสตร์ควอนตัม ผมจะสามารถหาค่าสภาพซ้อนสถานะจากการพิจารณาพลังงานและระบบได้อย่างไรครับ (ยกตัวอย่างให้หน่อยครับ เนื่องจากผมยังไม่เข้าใจสภาพซ้อนสถานะอย่างเป็นรูปธรรมครับ ผมรู้สึกว่ามันเป็นนามธรรมมากๆ อย่างเช่น  ในสมการ  )
|
|
« Last Edit: December 05, 2010, 10:45:37 PM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #5 on: December 05, 2010, 11:24:47 PM » |
|
... อย่างเช่น  ในสมการ  ) หลักการทางสถิติเป็นแบบง่าย ๆ เหมือนที่เรียนตอนเด็ก ๆ นั่นแหละ ความน่าจะเป็นที่จะได้ค่าใด มีค่าเท่ากับจำนวนวิธีที่จะได้ค่านั้นหารด้วยจำนวนวิธีที่จะได้ค่าต่าง ๆ ทั้งหมดรวมกัน ในทางอุณหพลศาสตร์ ระบบที่เราสนใจเป็นระบบที่อยู่ในสมดุลความร้อนกับแหล่งความร้อนอุณหภูมิ  จำนวนวิธีที่จะเกิดสถานะที่เราต้องการขึ้นกับจำนวนวิธีที่แหล่งจะอยู่ในสถานะนั้น และจำนวนวิธีที่ระบบที่เราสนใจจะอยู่ในสถานะนั้น จำนวนวิธีที่จะเป็นไปได้ในสถานะรวมจึงเป็นผลคูณของจำนวนวิธีของแต่ละส่วน ในที่นี้  คือจำนวนวิธีที่ระบบที่สนใจจะมีพลังงานที่สนใจ (ซึ่งก็คือค่า degeneracy) ส่วน Boltzmann's factor  คือค่าที่แปรผันตรงกับจำนวนวิธีที่แหล่งความร้อนจะอยู่ในสถานะนั้น
|
|
« Last Edit: December 06, 2010, 12:04:16 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #6 on: December 06, 2010, 12:35:03 AM » |
|
ผมเข้าใจว่าสภาพซ้อนสถานะหมายถึงช่องของชั้นพลังงาน  จำนวน  ช่อง ซึ่งมีอนุภาค  อนุภาคเรียงอยู่ในช่องเหล่านั้น ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ ถ้า  แสดงว่า  ใช่มั้ยครับ แต่ว่าถ้าเป็นแบบนี้  จะเป็นจำนวนช่องได้ยังไงครับ
|
|
« Last Edit: December 06, 2010, 12:56:47 AM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #7 on: December 06, 2010, 03:27:56 AM » |
|
ผมเข้าใจว่าสภาพซ้อนสถานะหมายถึงช่องของชั้นพลังงาน  จำนวน  ช่อง ซึ่งมีอนุภาค  อนุภาคเรียงอยู่ในช่องเหล่านั้น ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ ถ้า  แสดงว่า  ใช่มั้ยครับ แต่ว่าถ้าเป็นแบบนี้  จะเป็นจำนวนช่องได้ยังไงครับ ช่องที่ว่านี่มันอะไรกันนะ  คิดว่าต้องพิจารณาเป็นสองกรณี 1. กรณีที่พลังงานมีค่าไม่ต่อเนื่อง นับได้เป็น 1,2 .. จำนวนสถานะที่มีพลังงานเท่ากันหาจากกลศาสตร์ควอนตัม 2. กรณีที่พลังงานมีค่าต่อเนื่อง มองว่าในช่วงพลังงาน dE มีจำนวนสถานะเท่าใด โดยหาจาก density of state คูณกับปริมาตรของเล็ก ๆ ที่ถือว่ามีพลังงานเท่ากัน
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #8 on: December 06, 2010, 05:52:16 AM » |
|
ผมเข้าใจว่าสภาพซ้อนสถานะหมายถึงช่องของชั้นพลังงาน  จำนวน  ช่อง ซึ่งมีอนุภาค  อนุภาคเรียงอยู่ในช่องเหล่านั้น ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ ถ้า  แสดงว่า  ใช่มั้ยครับ แต่ว่าถ้าเป็นแบบนี้  จะเป็นจำนวนช่องได้ยังไงครับ ช่องที่ว่านี่มันอะไรกันนะ  เป็นช่องที่เอาไว้ให้อนุภาคอยู่ เช่น ถ้ามี 3 ช่อง (  ) และมี 5 อนุภาค (  ) ก็จะมีการจัดเรียงของอนุภาคได้ทั้งหมด  แบบ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #9 on: December 06, 2010, 06:52:06 AM » |
|
ผมเข้าใจว่าสภาพซ้อนสถานะหมายถึงช่องของชั้นพลังงาน  จำนวน  ช่อง ซึ่งมีอนุภาค  อนุภาคเรียงอยู่ในช่องเหล่านั้น ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ ถ้า  แสดงว่า  ใช่มั้ยครับ แต่ว่าถ้าเป็นแบบนี้  จะเป็นจำนวนช่องได้ยังไงครับ ช่องที่ว่านี่มันอะไรกันนะ  เป็นช่องที่เอาไว้ให้อนุภาคอยู่ เช่น ถ้ามี 3 ช่อง (  ) และมี 5 อนุภาค (  ) ก็จะมีการจัดเรียงของอนุภาคได้ทั้งหมด  แบบ ความหมายทางฟิสิกส์ของช่องพวกนี้คืออะไร 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #10 on: December 06, 2010, 07:10:05 AM » |
|
ผมเห็นเป็นนามธรรมครับ ผมมองแบบเป็นรูปธรรมไม่ออก
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #11 on: December 06, 2010, 07:23:54 AM » |
|
ผมเห็นเป็นนามธรรมครับ ผมมองแบบเป็นรูปธรรมไม่ออก
ก็แปลว่าคิดแบบที่ว่าไม่ได้ มันไม่มีความหมาย ต้องมองเป็นสถานะต่าง ๆ ที่มีพลังงานเท่ากันในเชิงกลศาสตร์ควอนตัม 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #12 on: December 06, 2010, 01:33:14 PM » |
|
ผมเห็นเป็นนามธรรมครับ ผมมองแบบเป็นรูปธรรมไม่ออก
ก็แปลว่าคิดแบบที่ว่าไม่ได้ มันไม่มีความหมาย ต้องมองเป็นสถานะต่าง ๆ ที่มีพลังงานเท่ากันในเชิงกลศาสตร์ควอนตัม  แต่ถึงยังไงกลศาสตร์เชิงสถิติก็เกิดก่อนกลศาสตร์ควอนตัม มันก็น่าจะมีวิธีมองแบบไม่ใช้กลศาสตร์ควอนตัมไม่ใช่เหรอครับ ผมมองใหม่ว่า  น่าจะหมายถึงของเขตของอนุภาค (อนุภาคที่มีพลังงาน  ) ที่เอาไว้ให้อนุภาคเหล่านั้นจัดเรียงตัวกันครับ หมายความว่าอนุภาคของแต่ละระดับพลังงานจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่จำกัดบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
|
|
« Last Edit: December 06, 2010, 01:35:31 PM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #13 on: December 06, 2010, 05:33:15 PM » |
|
ผมหาความน่าจะเป็นที่จะพบแก๊สมวลโมเลกุล M อัตราเร็ว v ได้ถูกต้องมั้ยครับ โดย m คือมวลของโปรตอนหรือนิวตอน 1 ก้อน  ![dP=\frac{e^{-\frac{\frac{1}{2}Mmv^{2}}{kT}}\sqrt{\frac{2}{\pi }}(\frac{m}{kT})^{\frac{3}{2}}v^{2}}{Zeta[\frac{3}{2}]}dv dP=\frac{e^{-\frac{\frac{1}{2}Mmv^{2}}{kT}}\sqrt{\frac{2}{\pi }}(\frac{m}{kT})^{\frac{3}{2}}v^{2}}{Zeta[\frac{3}{2}]}dv](/forums/Sources/latex/pictures/e9395c5c90e0b6e91a7d677b8121eccf.png)
|
|
« Last Edit: December 06, 2010, 05:37:32 PM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
ata3182257
neutrino
Offline
Posts: 95
|
 |
« Reply #14 on: December 15, 2010, 09:28:38 PM » |
|
สมมุติว่ามีระบบอยู่สองระบบ ระบบแรกมี  ส่วนระบบที่สองมี  เมื่อจับระบบทั้งสองมารวมกัน เอนโทรปีที่ได้ก็จะเท่ากับ  หรือ  ครับ ผมไม่เข้าใจจริงๆครับ การนำมาบวกกันตรงอย่างวิธีแรกก็น่าจะถูก แต่ถ้าต้องการให้ได้ตัวประกอบโบลต์มันซ์ออกมา ก็ต้องใช้วิธีที่สอง ขอใครช่วยตอบก็ได้ครับ
|
|
« Last Edit: December 16, 2010, 01:40:54 AM by ata3182257 »
|
Logged
|
|
|
|
|