PPn
neutrino
Offline
Posts: 11
|
 |
« on: October 25, 2010, 10:20:15 PM » |
|
ข้อสอบจบค่ายครับ
|
|
« Last Edit: October 25, 2010, 11:26:28 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
AP
neutrino
Offline
Posts: 250
ไม่มีใครลิขิตเรา นอกจากเรา
|
 |
« Reply #1 on: October 25, 2010, 10:23:41 PM » |
|
ขอบคุณมากๆครับ 
|
|
|
Logged
|
ไม่มีใครเริ่มกันด้วยความพร้อม ทุกคนก็มาจากไม่พร้อม แต่ที่แตกต่างกันคือการพยายามสร้างความพร้อมจากความไม่พร้อมของแต่ละคน
|
|
|
klapro
neutrino
Offline
Posts: 151
|
 |
« Reply #2 on: October 26, 2010, 05:55:37 PM » |
|
ผมเซ็งมากข้อล้อหมุน ลืมบวกโมเมนต์ความเฉื่อยจากมวล m ไปด้วย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
pukpao_taiji
neutrino
Offline
Posts: 15
|
 |
« Reply #3 on: October 26, 2010, 06:38:54 PM » |
|
ผมเซ็งมากข้อล้อหมุน ลืมบวกโมเมนต์ความเฉื่อยจากมวล m ไปด้วย ไม่ต้องบวกนี่ครับ มวลmไม่ได้หมุนไปด้วยนี่แค่สั่นขึ้นลง หรือผมเข้าใจผิด
|
|
|
Logged
|
|
|
|
klapro
neutrino
Offline
Posts: 151
|
 |
« Reply #4 on: October 26, 2010, 07:04:40 PM » |
|
|
|
« Last Edit: October 28, 2010, 07:13:58 PM by klapro »
|
Logged
|
|
|
|
klapro
neutrino
Offline
Posts: 151
|
 |
« Reply #5 on: October 26, 2010, 07:24:27 PM » |
|
ข้อ 4 : ข้อนี้แนวโน้มได้ 0 คะแนน ตอนสอบ ค่อนข้างสูง เพราะว่า ทำผิดตั้งแต่แรงต้าน  ให้  คือ มวลต่อความยาวของโซ่ ในเวลา  , มวล m ไปดึงมวลมาเพิ่มคิดเป็น  คิดเป็นโมเมนตัม  , เสมือนเป็นแรงต้าน  ............................... ณ ขณะใดๆ    ![\frac{d}{dx}[(m+\lambda x)^2 v^2] = 0 \frac{d}{dx}[(m+\lambda x)^2 v^2] = 0](/forums/Sources/latex/pictures/4913883c7561613c890e68916cc113ad.png)  ......  ....... ได้ว่า   .......    .......  ![t = \frac{1}{2\lambda u}[\frac{(m+\lambda x)^2}{m} - m] t = \frac{1}{2\lambda u}[\frac{(m+\lambda x)^2}{m} - m]](/forums/Sources/latex/pictures/b25689fa9f1c49cace2f21c67967966b.png) ถ้า x = l และ แทนค่าแลมด้ากลับไป จะได้เวลา ........................................ ความเร็วสุดท้ายก็คือ ความเร็วที่ชนแล้วติดกันไปจน x = l แล้วไปแทนค่าในสมการ v ข้างบนๆ ได้ หรือว่าจะใช้หลักอนุรักษ์โมเมนตัมก็ได้ค่าเท่ากัน
|
|
« Last Edit: October 26, 2010, 08:14:36 PM by klapro »
|
Logged
|
|
|
|
ken_tu72
neutrino
Offline
Posts: 47
|
 |
« Reply #6 on: October 26, 2010, 07:35:01 PM » |
|
ข้อ 6 จากโจทย์บอกว่าเป็น Carnot engine พบว่า กระบวนการ 1 --> 2 เป็น isothermal  กระบวนการ 2 --> 3 เป็น adiabatic  กระบวนการ 3 --> 4 เป็น isothermal  กระบวนการ 4 --> 1 เป็น adiabatic  นำสี่สมการข้างต้นมาคูณกันได้ว่า  จัดรูปต่อจึงได้ว่า  หรือมันเป็นส่วนกลับของกันและกัน ช่วยตรวจสอบด้วยครับ  ปล. รู้สึกผมก็ไม่ได้บวกโมเมนต์ความเฉื่อยของ m เหมือนกัน 
|
|
« Last Edit: October 26, 2010, 07:38:57 PM by ken_tu72 »
|
Logged
|
|
|
|
Rotund Necrolyte
neutrino
Offline
Posts: 27
|
 |
« Reply #7 on: October 26, 2010, 08:10:46 PM » |
|
ผมก็ลืมเหมือนกาน
|
|
|
Logged
|
|
|
|
klapro
neutrino
Offline
Posts: 151
|
 |
« Reply #8 on: October 26, 2010, 08:30:35 PM » |
|
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Rotund Necrolyte
neutrino
Offline
Posts: 27
|
 |
« Reply #9 on: October 26, 2010, 08:39:24 PM » |
|
เราไม่แน่ใจว่าถูกไหม ไม่กล้าลง 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
PPn
neutrino
Offline
Posts: 11
|
 |
« Reply #10 on: October 26, 2010, 11:43:38 PM » |
|
ข้อ 2 ลองคิดที่เวลา  เล็กๆ มวลที่พุ่งชนเป็น  เมื่อ  เป็นความเร็ว ณ จุดที่ชน ดังนั้น โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปเป็น  แรงที่กระทำคือโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปต่อหน่วยเวลา  (ทิศขึ้น) กฎนิวตัน,  , 
|
|
« Last Edit: October 26, 2010, 11:58:27 PM by PPn »
|
Logged
|
|
|
|
Tangg
neutrino
Offline
Posts: 198
|
 |
« Reply #11 on: October 26, 2010, 11:54:41 PM » |
|
|
|
|
Logged
|
|
|
|
PPn
neutrino
Offline
Posts: 11
|
 |
« Reply #12 on: October 26, 2010, 11:57:45 PM » |
|
กำลังงงกะเท็กอยู่ เฉลยไม่ทันแฮะ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Tangg
neutrino
Offline
Posts: 198
|
 |
« Reply #13 on: October 27, 2010, 12:09:11 AM » |
|
กำลังงงกะเท็กอยู่ เฉลยไม่ทันแฮะ  ขออภัยด้วยครับ ไม่ทันเห็นว่าท่าน PPn กำลังเฉลยอยู่ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Tangg
neutrino
Offline
Posts: 198
|
 |
« Reply #14 on: October 27, 2010, 12:55:38 AM » |
|
เท่าที่ผมลองดูๆแล้ว วิธีนี้มันเป็นวิธีการประมาณครับ เพราะว่า จากสมการความต่อเนื่อง เราจะเห็นว่า พื้นที่หน้าตัดของลำน้ำ มันควรมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ (ไม่น้อยเลยนะครับ  ) ดังนั้น พื้นที่หน้าตัดที่เราใช้ในการคำนวณตอนชน มันจะมีค่าเปลี่ยนไป เป้น  แล้วตอนที่มันชนจริงๆ จะมีน้ำอีกส่วนหนึ่ง ไปชนผิวทรงกลมที่ด้านข้าง (ถ้าบอลมันมีรัศมี แต่ควรจะมี ไม่อย่างนั้น น้ำมันจะไปชนลูกบอลได้อย่างไร) กำหนดว่าเป็น R แล้วพื้นที่ของน้ำตรงผิวทรงกลม ก็จะขึ้นกับความสูงด้วย เราจึงอาจจะต้องทำการอินทิเกรต เพื่อหาแรงของมันออกมา ใครสนใจทำ Exact Solution ก็ลองทำดูได้นะครับ ผมในตอนนี้ ยังคงทำไม่ได้ โหดเกินไป ถ้าใครทำได้ ก็ลองเอามา Post ดูก็ได้นะครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|