ข้อ 1 อ.อนันตสินครับ ขอลองทำดู ผมคิดว่าการขยายตัวจะขยายไปเรื่อยๆ จนความดันในกระบอกสูบฝั่งซ้าย เท่ากับของบรรยากาศ

ความที่ของเหลว C มีความหนืดสูง จะได้ว่าเมื่อกระบวนการสิ้นสุดลง จะมีความร้อนสูญเสียไปกับ C
ให้เดิมแก๊สในกระบอกสูบซ้ายมีความดัน

ปริมาตร

อุณหภูมิสัมบูรณ์

เป็น adiabatic จึงได้ว่า

เราได้ว่า

งานที่ทำให้ระบบ

งานทั้งหมดถ่ายเทไปให้ของเหลว ได้

ข้อ 3 ก. เราพิจารณาคอลัมน์ของอากาศ เราได้ว่า

และโดยการคิดว่าอากาศเป็นแก๊สอุดมคติ

เป็น adiabatic atmosphere จะได้ว่าเมื่อคอลัมน์ของอากาศขยายตัวไปถึงความดัน

จะมีอุณหภูมิ

แทนค่าลงไปได้

อินทิเกรต

สะสางได้

จะหาอุณหภูมิก็เอากลับไปแทนใน

ข. เป็น adiabatic atmosphere ลูกโป่งยางจึงขยายตัวแบบ adiabatic เราได้

เราคิดว่า รัศมีมันคงโตขึ้นไม่มากหรอกเทียบกับรัศมีเดิม ให้

เมื่อ

แทนค่าลงไป

ประมาณซะ

กระจายมัน ประมาณอะไรอีกเล็กน้อย(พวกพจน์กำลังสอง) สุดท้ายเราได้

ค่าของ

หาโดยนิพจน์จากข้อ ก. พอได้ค่า

เป็นตัวเลขแล้ว นำไปบวกกับ

ก็จะได้คำตอบรัศมีเป็นตัวเลขที่ความสูง

ข้อ 4 แก้ไขครับ สรุปว่าต้องคำนึงถึง การรั่วเข้าของอากาศด้วย ดังนั้น
เราบอกว่า ระหว่างกระบวนการนี้ความดันจะคงตัว จึงได้

ได้

แทนค่าต่างๆลงไปก็จะได้คำตอบครับ
