วิธีทำอันเก่า ผิดอย่าง "มหันตภัย" เลยครับ

1) เนื่องจากการกระจัดสัมพัทธ์ของวัตถุเทียบแผ่นไม้ในช่วงแรก (ก่อนที่วัตถุหยุดไถล) มีทิศไปทางขวา
แรงเสียดทานจลน์ที่ทำต่อวัตถุมีทิศตรงข้ามกับการกระจัดสัมพัทธ์ของวัตถุเทียบกับแผ่นไม้
ดังนั้น แรงเสียดทานจลน์ที่ทำต่อวัตถุ มีขนาด

และมีทิศไปทางซ้าย
2) ให้อัตราเร่งของแผ่นไม้เท่ากับ

จากกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน เมื่อมีแรงขนาด

ที่แผ่นไม้ทำต่อวัตถุไปทางซ้าย ย่อมมีแรงขนาดเดียวกันนี้ที่วัตถุทำต่อแผ่นไม้ไปทางขวา
ใช้กฎของนิวตันข้อที่ 2 กับแผ่นไม้:


3) "ระบบ" ประกอบด้วยแผ่นไม้และวัตถุ ไม่มีแรงภายนอก"ในแนวราบ"กระทำต่อระบบนี้ ดังนั้นโมเมนตัมเชิงเส้นในแนวราบของระบบคงที่
ให้

เป็นอัตราเร็วที่เท่ากันของวัตถุและแผ่นไม้
โมเมนตัมตอนแรก =

โมเมนตัมตอนหลัง =

ทั้งสองมีทิศไปทางขวาทั้งคู่และเท่ากัน จึงได้ว่า

พิจารณาวัตถุ




นี่เป็นระยะทางของวัตถุเทียบกับพื้น (

ต่างเป็นอัตราเร็ว "เทียบกับพื้น")
พิจารณาแผ่นไม้




ดังนั้น


4) การไถลระหว่างผิวสัมผัส เกิดขึ้นเมื่อผิวสัมผัสของวัตถุทั้งสองมีความเร็วไม่เท่ากัน ดังนั้นหลังจากที่วัตถุและแผ่นไม้มีความเร็วเท่ากัน วัตถุจะหยุดไถลบนแผ่นไม้
แรงเสียดทานสถิตเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหยุดไถลบนแผ่นไม้ และมีทิศสวนทางกับการกระจัดลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นถ้าไม่มีแรงเสียดทาน
(ควรอ่านเรื่องแรงเสียดทานเพิ่มเติมที่
http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/index.php/topic,203.msg2106.html#msg2106 และ
http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/index.php/topic,203.msg2194.html#msg2194 จะทำให้เข้าใจกระจ่างขึ้น)
ในกรณีนี้ ทั้งวัตถุและแผ่นไม้จะเคลื่อนที่ด้วย

ตลอดไป เนื่องจากไม่มีแรงเสียดทานกระทำต่อทั้งวัตถุและแผ่นไม้
ดังนั้น แรงเสียดทานตอนท้าย

ช่วยอธิบาย9.4หน่อยได้ไหมครับยังงงๆอยู่เลยครับ
