ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #150 on: November 28, 2009, 02:11:37 PM » |
|
ลองทำของอาจารย์ปิยพงษ์ดูบ้างนะครับ ข้อ 1 ในห้องสอบตอนแรกผมเห็นรูปแล้วดูน่ากลัว เลยข้ามแล้วกลับมาทำไม่ทัน หลังจากนั้นผมได้ลองกลับมานั่งทำที่บ้าน ก็ได้สัจธรรมว่า....ดีแล้วที่ไม่ได้ทำ  1.1)  ... ก็น้องเล่นทำผิดตั้งแต่บรรทัดแรกนี่ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #151 on: November 28, 2009, 02:26:29 PM » |
|
ตายละ 5555  โปรดชี้แนะ ด้วยครับอาจารย์ แล้วจะลองแก้ให้ 
|
|
« Last Edit: November 28, 2009, 02:28:23 PM by WinGed_BeaN »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #152 on: November 28, 2009, 06:46:49 PM » |
|
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #153 on: November 29, 2009, 05:13:58 PM » |
|
สรุป คือ ผมไม่เข้าใจพิกัดเชิงขั้วเลย - -" เดียวแก้ตัวดูครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #154 on: November 29, 2009, 06:16:16 PM » |
|
กลศาสตร์ ข้อ 1 (รอบ2) 1.1)  1.2)  1.3)  . โดย  และ จะได้ว่า  1.4) เนื่องจากโมเมนตัมเชิงมุมคงที่ เทียบกับจุดสัมผัสผิวทรงกระบอก ได้ว่า  ดังนั้น  ใช้ข้อมูลจากข้อ 1.3)  นั้นคือ  เนื่องจากขณะที่มวลชนทรงกระบอก  อินทิเกรตออกมาเป็น  หวังว่าคงไม่มีรอบที่ 3 นะครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #155 on: November 29, 2009, 07:02:36 PM » |
|
... 1.4) เนื่องจากโมเมนตัมเชิงมุมคงที่ เทียบกับจุดสัมผัสผิวทรงกระบอก ได้ว่า  ดังนั้น  ... หวังว่าคงไม่มีรอบที่ 3 นะครับ  หลักการที่อ้างมาน่าจะใช้ไม่ได้นะ จุดสัมผัสมันเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ และอาจจะมีรอบที่ 4 ก็ได้ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #156 on: December 07, 2009, 03:30:55 PM » |
|
งงครับอาจารย์ ถ้าผมลองคิดโมเมนตัมเชิงมุมคงที่รอบจุด O ก็ได้คำตอบเป็น ![\frac{R^{2}+L^{2}}{3uR}[1-(\frac{R^{2}}{R^{2}+L^{2}})^{3/2}] \frac{R^{2}+L^{2}}{3uR}[1-(\frac{R^{2}}{R^{2}+L^{2}})^{3/2}]](/forums/Sources/latex/pictures/80310f3be613f79d555b94206e88ed65.png) แต่ก็ไม่น่าใช้คำตอบ เพราะแรงตึงเชือกจะทำให้เกิดทอร์กรอบจุด O ชี้แนะด้วยครับ ผมว่าผมคงจะมองข้าม ไม่ก็เข้าใจอะไรผิด ซักอย่างแน่เลยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #157 on: December 07, 2009, 07:37:52 PM » |
|
งงครับอาจารย์ ถ้าผมลองคิดโมเมนตัมเชิงมุมคงที่รอบจุด O ก็ได้คำตอบเป็น ![\frac{R^{2}+L^{2}}{3uR}[1-(\frac{R^{2}}{R^{2}+L^{2}})^{3/2}] \frac{R^{2}+L^{2}}{3uR}[1-(\frac{R^{2}}{R^{2}+L^{2}})^{3/2}]](/forums/Sources/latex/pictures/80310f3be613f79d555b94206e88ed65.png) แต่ก็ไม่น่าใช้คำตอบ เพราะแรงตึงเชือกจะทำให้เกิดทอร์กรอบจุด O ชี้แนะด้วยครับ ผมว่าผมคงจะมองข้าม ไม่ก็เข้าใจอะไรผิด ซักอย่างแน่เลยครับ  ประโยคว่า โมเมนตัมเชิงมุมคงตัว คือคงตัวในเวลา นั่นคือ โมเมนตัมเชิงมุมที่เวลาหนึ่งรอบจุดหนึ่งมีค่าเท่ากับโมเมนตัมเชิงมุมรอบจุดนั้นที่อีกเวลาหนึ่ง เราเอาโมเมนตัมเชิงมุมตอนไหนกับตอนไหนมาเทียบกันล่ะ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #158 on: December 07, 2009, 07:46:51 PM » |
|
เอาตอนเริ่มต้น เทียบกับขณะใดๆครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #159 on: December 07, 2009, 08:20:21 PM » |
|
กลศาสตร์ ข้อ 1 รอบที่ 3 (เริ่มรู้สึกโง่  ) 1.4) จาก ข้อ 1.3 ที่ทำไว้ก่อนหน้านี้  และจาก 1.1  จะได้ว่าโมเมนตัมเชิงมุมรอบจุด O ขณะใดๆ  โดย  ตอนเริ่มเคลื่อนที่ มีโมเมนตัมเชิงมุม โมเมนตัมเชิงมุมคงที่ตลอดการเคลื่อนที่ ดังนั้น  ดังนั้น  อินทิเกรต  ได้ออกมา  เท่าเดิมกับรอบ 2 ซะงั้น
|
|
« Last Edit: December 08, 2009, 12:32:27 AM by WinGed_BeaN »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #160 on: December 07, 2009, 11:44:54 PM » |
|
... โมเมนตัมเชิงมุมคงที่ตลอดการเคลื่อนที่ ดังนั้น  ... เคยถามแล้ว แต่ก็จะถามซ้ำ รู้ได้อย่างไรว่าโมเมนตัมเชิงมุมรอบจุดที่เลือกคงตัว อย่าลืมว่าห้ามย้ายจุดนะ ตอนตั้งต้นคิดรอบจุดใด ที่เวลาอื่น ๆ ก็ต้องคิดรอบจุดนั้นด้วย 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #161 on: December 08, 2009, 12:16:41 AM » |
|
คราวนี้คิดรอบจุด O ครับ จุดอยู่กับที่แน่นอน ส่วนทำไมถึงคงที่ .... ไม่ค่อยแน่ใจเหมือนกันครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #162 on: December 08, 2009, 02:01:52 AM » |
|
คราวนี้คิดรอบจุด O ครับ จุดอยู่กับที่แน่นอน ส่วนทำไมถึงคงที่ .... ไม่ค่อยแน่ใจเหมือนกันครับ  ทอร์กสุทธิรอบจุดนั้นเป็นศูนย์ตลอดเวลาหรือเปล่า ทิศทางของแรงตึงเชือกที่ทำต่อวัตถุผ่านจุดนั้นตลอดเวลาหรือไม่ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
WinGed_BeaN
neutrino
Offline
Posts: 46
|
 |
« Reply #163 on: December 08, 2009, 10:15:12 AM » |
|
ที่จริงผมลองคิดแบบมีทอร์กดูตั้งนานแล้วครับ แต่มันติดสมการอิรุงตุงนัง(สมการอนุพันธ์) แก้ไม่ออก สุดท้ายก็เลยดันทุรังคิดแบบไม่มีทอร์กไป 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #164 on: December 08, 2009, 04:15:20 PM » |
|
ที่จริงผมลองคิดแบบมีทอร์กดูตั้งนานแล้วครับ แต่มันติดสมการอิรุงตุงนัง(สมการอนุพันธ์) แก้ไม่ออก สุดท้ายก็เลยดันทุรังคิดแบบไม่มีทอร์กไป  ช่างคิดมีเหตุมีผลเหลือเกิน เคยได้ยินเรื่องหญิงแก่ทำของตกไหม มีคนเห็นหญิงแก่กำลังก้ม ๆ เงยมองหาอะไรอยู่ที่พื้น ก็เลยถามว่าทำอะไรอยู่ หญิงแก่ก็บอกว่าหาของที่ทำตกอยู่ เขาถามว่าทำตกที่ไหน หญิงแก่บอกว่าทำตกตรงโน้นที่มืด ๆ โน่น คนถามก็เลยถามต่อว่าแล้วมาหาที่สว่าง ๆ ตกนี้ทำไม หญิงแก่ก็บอกว่าก็ตรงโน้นมันมืดมองไม่เห็นนี่  ใช้กฎการคงตัวของโมเมนตัมเชิงมุมไม่ได้ เพราะว่าทอร์กสุทธิไม่ได้เป็นศูนย์ตลอดเวลา ใช้กฎอนุรักษ์พลังงานได้ เพราะแรงตึงเชือกที่ทำต่อวัตถุมีทิศทางตั้งฉากกับความเร็วของวัตถุตลอดเวลา 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
|