7) การสะท้อนกลับมาทางเดิมคือแสงตกกระทบตั้งฉากกับด้านที่ฉาบเงิน (ขออภัยที่ไม่ได้วาดรูปแสดง) ใช้กฎของสเนลล์กับแสงที่หักเหจากอากาศไปปริซึม ดังนั้น


8 ) ให้ตอนแรกวัตถุอยู่ห่างจากเลนส์

เลนส์มีความยาวโฟกัส

สูตรกำลังขยายของเลนส์

เมื่อ I, O และ v คือขนาดภาพ, ขนาดวัตถุ และ ระยะภาพตามลำดับ
ตอนแรก

(เครื่องหมายลบของกำลังขยายคือภาพกลับหัว)
ตอนหลัง

และ

แก้ระบบสมการเหล่านี้หาความยาวโฟกัสจะได้ว่า

9) ครึ่งหนึ่งของพลังงานจลน์เสียไปให้เป็นพลังงานความร้อน

เมื่อ

คือความจุความร้อนจำเพาะของตะกั่ว ดังนั้น


(สเกลของเคลวินกับเซลเซียสมีึขนาดเท่ากัน)
10) ความต่างศักย์คร่อมแบตเตอร์รี่คือ

ใช้

แก้ระบบสมการสองตัวแปรจะได้ว่า

และ

11) ข้อนี้หลักการไม่ยากแต่อาจแก้สมการกำลังสองวุ่นหน่อย
ตอนแรกมีตัวต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกัน มีกระแสไหล

ตอนมีตัวต้านทาน

ตัวเดียวมีกระแสไหล

ตอนมีตัวต้านทาน

ตัวเดียวมีกระแสไหล

ระบบสมการสามตัวแปร สามสมการ แก้หาตัวแปรที่ยังไม่ทราบค่าแต่ละตัวได้ ถ้าเลือกหา

ก่อนจะได้สมการดังนี้ (แทนค่าทุกอย่างในหน่วย SI)

ซึ่งแก้แล้วได้คำตอบ

แต่ไม่เอาตัวหลังเพราะจะทำให้ค่า

ติดลบ
เมื่อแทนค่าหาตัวต้านทานอีกตัว จะสรุปคำตอบได้ดังนี้

และ

12) ข้อนี้หลักการคือการตกอย่างเสรีคือการตกลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร่ง

สถานการณ์ที่เราออกแรงให้ลิ่มเร่งไปด้านข้างน้อยที่สุดที่จะทำให้วัตถุตกลงมาอย่างเสรี เป็นสถานการณ์ที่วัตถุแทบจะหลุดออกจากลิ่มแล้วแต่ผิวยัง"สัมผัส"กันอยู่ (ถ้า"แตะ"จะทำให้มีแรงปฎิกิริยาตั้งฉาก และจะต้านแรงโน้มถ่วงซึ่งทำให้วัตถุไม่ได้ตกลงมาอย่างเสรี)
ดังนั้นเราต้องหาเงื่อนไขที่ทำให้ความเร่งของวัตถุในแนวตั้งฉากกับผิวลิ่ม"ในกรอบของลิ่ม"เป็นศูนย์
ให้แกนXและY ชี้ไปด้านขวาและทิศขึ้นตามลำดับ ออกแรงดันลิ่มไปด้านซ้ายด้วยความเร่ง A ดังรูปด้านล่าง
ความเร่งของวัตถุเทียบกรอบอ้างอิงเฉื่อย(พื้น)

ความเร่งของลิ่มเทียบกรอบอ้างอิงเฉื่อย(พื้น)

ความเร่งของวัตถุเทียบลิ่ม

จากรูปด้านล่าง พบว่า ความเร่งในแนวตั้งฉากกับผิวลิ่มในกรอบอ้างอิงของลิ่มคือ

ให้ความเร่งแนวนี้เป็นศูนย์ซึ่งบ่งถึงเงื่อนไขการ"สัมผัสพอดี"ของวัตถุ ดังนั้นจะได้ว่า
