ถ้าลองตั้งสมการแรงเข้าสู่ศูนย์กลางดูจะได้ว่ารัศมีวงกลมของการเคลื่อนที่จะเป็น

เมื่อ

คือความเร็วต้นที่เข้ามาในบริเวณสนามแม่เหล็ก
ซึ่งพบว่า ถ้าหากว่าวิ่งเข้ามาเร็วมาก ก็จะมีรัศมีมาก นั่นคือจะเบนจากเดิมน้อย
ดังนั้นสันนิษฐานเบื้องต้นว่าคำตอบเรื่องมุมเบี่ยงเบนควรจะขึ้นกับอัตราเร็วต้นที่เข้ามา
ทีนี้ ลองใช้ Dimensional Analysis (การวิเคราะห์มิติ) จะพบว่า มุม ซึ่งเป็นคำตอบไร้มิติ จะต้องนำเอาตัวแปรมาผสมดังนี้

เมื่อ A กับ n เป็นจำนวนจริงใดๆ
ซึ่งพบว่า ก็ต้องขึ้นกับค่า

อยู่ดี
ดังนั้นคำตอบควรจะมีค่า

ติดมาด้วย
ทีนี้ เรื่องช่วงเวลาที่อยู่ในบริเวณสนามแม่เหล็ก ก็ขึ้นกับค่า

ด้วย เพราะช่วงเวลาที่ใช้เคลื่อนที่ขึ้นกับมุมเบี่ยงเบน (ลองวาดรูปดูจะเห็นครับ)