phys_pucca
|
 |
« on: October 05, 2005, 04:35:38 PM » |
|
ข้อนี้ยากหน่อยนะครับ  ณ มหาวิทยาลัยชื่อดังแห่งหนึ่งย่านศาลายา มีเด็กชาย(อันที่จริงควรเป็นนาย)เกเรคนหนึ่ง เจอเต่าเดินผ่านหน้่า ด้วยความเชื่อที่ว่าหากเจอเหตุการณ์เช่นนี้แล้ว จะติด F ในการสอบครั้งนั้น ด้วยความโกรธแค้นเด็กเกเรคนนี้ ้จึงจับเต่าหงายกระดองวางบนพื้น แต่เดชะบุญมีเด็กชายอีกคนที่เก่งฟิสิกส์มากๆ เดินผ่านมาพอดี  เขาจึงรีบวิ่งเข้าไปที่เต่าตัวนั้นแล้ว....... เตะที่ขอบกระดองเต่าเบาๆ ให้กระดองแกว่งไปมา เพื่อจะหาคาบการแกว่งของกระดองเต่า ให้ประมาณว่ากระดองเต่าเป็นครึ่งทรงกลมตัน มวล  กระจายสม่ำเสมอ รัศมี  และให้พื้นที่วางเต่าฝืดมากพอที่จะทำให้กระดองเต่ากลิ้งโดยไม่ไถล ดังรูป จงหาว่าเด็กชายคนนี้จะวัดคาบการแกว่งของกระดองเต่าได้เท่าไร
|
|
« Last Edit: October 05, 2005, 04:37:22 PM by phys_pucca »
|
Logged
|
 PHYSICS NEVER DIE Nature uses only the longest thread to weave her patterns, so each small piece of her fabric reveals the organization of the entire tapestry. ; Richard P. Feynman อย่าท้อ อย่าหยุด อย่าเบื่อ ; psaipetc
|
|
|
Peace
neutrino
Offline
Posts: 477
|
 |
« Reply #1 on: October 07, 2005, 07:22:42 PM » |
|
หา cm ของครึ่งทรงกลมก่อนละกันครับ จากรูปจะได้    <----- ตรงนี้ขอบอกน้อง G ว่าใส่ \displaystyle{......................} ครอบสมการไว้น่ะ ถ้าผิดตรงไหนก็ชี้แนะด้วยครับ เด๋วเดี๋ยวเดี๋ยวทำต่อ 
|
|
« Last Edit: September 29, 2010, 07:20:45 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
น้ำเงินขาว ดาวสวรรค์ ปัญญาชน เราทุกคนคือตราสถาบัน
P.S.P.2 สายวิทย์เฮฮา
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #2 on: October 07, 2005, 07:38:06 PM » |
|
 ข้อนี้ มีในค่าย สสวท.ปีที่แล้ว หรือเปล่าน๊า  ผมยังไม่ปิดเทอม เลยจารอดูครับ 
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
Peace
neutrino
Offline
Posts: 477
|
 |
« Reply #3 on: October 07, 2005, 08:09:37 PM » |
|
หา   เมื่อ  น้อยๆ แล้วก็กฎนิวตัน  เดี๋ยวจัดการต่อละกันครับ รู้ตัวแล้วว่าของเดิมมันมั่ว ขออนุญาตลบทิ้งนะครับ 
|
|
« Last Edit: September 29, 2010, 07:21:13 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
น้ำเงินขาว ดาวสวรรค์ ปัญญาชน เราทุกคนคือตราสถาบัน
P.S.P.2 สายวิทย์เฮฮา
|
|
|
NiG
|
 |
« Reply #4 on: October 07, 2005, 08:26:31 PM » |
|
พี่พีซสุดยอดเลย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
sg24979
neutrino
Offline
Posts: 140
|
 |
« Reply #5 on: October 07, 2005, 08:43:16 PM » |
|
ทำได้ดีมากทีเดียวหละ รูปก็งดงามจริงๆ ใช้Word ทำอีกแล้วหรอ ? แต่ในการทำพี่ไม่แน่ใจว่าการคิดทอร์ครอบจุด O นั้นจะคิดได้เช่นนั้นเลยหรือไม่ เพราะจุด O นั้นน่ามีความเร่งเทียบกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยด้วย ดังนั้นสมการอาจจะมีการดัดแปลงรูปแบบไป หรืออย่างไร เชิญผู้รู้มาตอบด้วยนะครับ ปล.พี่ยังไม่ได้อ่านวิธีทำนะ อาจจะถูกหมดก็ได้ พี่ยังไม่ชัวร์ เห็นรูปก็งดงามแล้ว หุหุ ไว้ว่างๆจะลองมานั่งอ่านละเอียดๆดูนะ เก่งสมเป็นpeaceจริงๆ คงน้อยคนนักที่เจอโจทย์ข้อนี้ครั้งแรกแล้วทำได้ขนาดนี้ 
|
|
|
Logged
|
สูงต่ำอยู่ที่ทำตัว ดีชั่วอยู่ที่ตัวทำ
วันนี้คุณทำความดีแล้ว หรือยังครับ ?
|
|
|
Peace
neutrino
Offline
Posts: 477
|
 |
« Reply #6 on: October 07, 2005, 08:48:29 PM » |
|
ผมก็ไม่ชัวนะครับ แต่ผมไม่เคยใช้ word ทำรูปอะ ใช้แต่ powerpoint 
|
|
|
Logged
|
น้ำเงินขาว ดาวสวรรค์ ปัญญาชน เราทุกคนคือตราสถาบัน
P.S.P.2 สายวิทย์เฮฮา
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #7 on: October 07, 2005, 09:23:34 PM » |
|
ถ้าผมสานต่อของพีซ สมการหา  ถ้าเราหาความเร่งของจุดcmได้แล้วเราเปลี่ยนสมการทอร์กของพีซให้เป็นสมการทอร์กที่จุดcmมีความเร่ง  เราก็จะได้2สมการที่มี2ตัวแปรนั่นคือ f แล้ว ความเร่งเชิงมุม แล้วก็แก้หาเอา ใช้ได้มั้ยฮับ
|
|
« Last Edit: September 29, 2010, 07:21:39 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
sg24979
neutrino
Offline
Posts: 140
|
 |
« Reply #8 on: October 07, 2005, 09:47:30 PM » |
|
เพิ่มนิดนึงนะ I รอบแกนหมุนที่ผ่านจุด O ของครึ่งทรงกลมยังคงเป็น 2/5*m*r^2 อยู่นะ โดยที่ m คือมวลของครึ่งทรงกลม ถ้าถามว่าทำไมก็ลองพิจารณาดูโดยเราอาจใช้หลักการที่เริ่มต้นจากทรงกลมทั้งใบก่อน แล้วก็พิจารณาว่ามันประกอบจากครึ่งทรงกลมสองใบ ซึ่งจะให้ผลอย่างง่ายๆ แต่ที่เราต้องคำนึงถึงคือ " มวลที่อยู่ในสูตรที่ได้มาจากการมองลักษณะนี้ เป็นมวลของอะไร " เสริมไว้แค่นี้แหละครับ ใครมีอะไรเพิ่มก็ช่วยกันเสริมกันต่อไปครับ
|
|
|
Logged
|
สูงต่ำอยู่ที่ทำตัว ดีชั่วอยู่ที่ตัวทำ
วันนี้คุณทำความดีแล้ว หรือยังครับ ?
|
|
|
FogRit
|
 |
« Reply #9 on: October 13, 2005, 04:01:26 PM » |
|
ขั้นแรกต้องรู้ตำแหน่งศูนย์กลางมวลของเต่า ขั้นต่อมาต้องรู้ moment of inertia สุดท้ายนึกภาพกราฟพลังงานศักย์กับตัวแปรตำแหน่ง ใช้ spherical coordinate ในการหาศูนย์กลางมวล ควำ่เต่าก่อน จาก โดย limit เป็น vector ชี้ไปยังศูนย์กลางมวลเมื่อเต่าถูกคว่ำที่จุด (0,0,0)
|
|
|
Logged
|
อดทนและทำงานอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #10 on: October 13, 2005, 04:30:49 PM » |
|
คำแนะนำแรก อาจไม่ต้องทำแบบพี่ เพราะมันเต็มแบบมาก (แต่ทำเป็นก็ดี) เพราะเรามักหนี ไปใช้สิ่งที่เราพอรู้บ้างมาใช้ให้ หาง่ายขึ้น สองคือ สมมติข้อนี้ พื้นไม่ฝืด ละ เป็นฝืดลืน จะเป็นอย่างไร (อันนี้ละคำถามค่ายจริงๆ) ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าทำไมถึงใช้ ....ได้ .... คืออะไร เราจะรอท่านพระเจ้าทั้งหลายมาจัดการกันครับ  จากนั้น ผมก็จะรู้ สักทีว่า ทำไมใช้ .... ได้ 
|
|
« Last Edit: September 29, 2010, 07:22:08 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
FogRit
|
 |
« Reply #11 on: October 13, 2005, 05:28:50 PM » |
|
Lagrange อ. ปิฯ ไม่แนะนำให้ใช้ เพราะฉะนั้นไม่มีคำบรรยาย แก้ไขคำตอบและใส่ source code แล้วครับ 
|
|
« Last Edit: January 15, 2007, 12:25:36 PM by Foggy_Ritchy »
|
Logged
|
อดทนและทำงานอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #12 on: October 13, 2005, 06:29:47 PM » |
|
 เอ่.... ของผมคือ คำว่า จุดหยุดนิ่งชั่วขณะ ครับ พี่ Foggy_Ritchy หรือว่า ต้องใช้ Lagrange พิสูจน์ ?? 
|
|
« Last Edit: September 29, 2010, 07:22:25 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
FogRit
|
 |
« Reply #13 on: October 13, 2005, 06:42:01 PM » |
|
เอ่.... ของผมคือ คำว่า จุดหยุดนิ่งชั่วขณะ ครับ พี่ Foggy_Ritchy หรือว่า ต้องใช้ Lagrange พิสูจน์ ?? งงครับ ขอคำถามครับ
|
|
|
Logged
|
อดทนและทำงานอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ
|
|
|
ampan
|
 |
« Reply #14 on: October 13, 2005, 07:08:53 PM » |
|
Lagrange อ. ปิฯ ไม่แนะนำให้ใช้ เพราะฉะนั้นไม่มีคำบรรยาย
พี่ไม่ได้ตอบกระทู้ก่อนหน้านี้ใช่ม่ะครับ คือผมถามว่า ถ้าบอกว่า พื้นลืน จะทำอย่างไร จะใช้ .... ของผมซึ่งคือ คำว่าจุดหยุดนิ่งชั่วขณะทำ ครับ ผม 
|
|
|
Logged
|
Samuraisentai Shinkenger 侍戦隊シンケンジャー
|
|
|
|