ขั้นแรกก็ต้องวิเคราะห์่ก่อนว่าแรงตึงเชือก หมายถึงแรงที่เชือกทำกระทำต่อวัตถุโดยที่มีทิศออกจากวัตถุนั้น ๆ ในกรณีนี้มีเชือกเพียงอย่างเดียว ถ้าเราต้องการหาแรงตึงเชือก ณ จุดใด ๆ ภายในเชือก เราต้องแบ่งเชือกออกเป็นส่วน ๆ แล้วดูว่ามีแรงตึงเชือกที่กระทำเป็นเท่าใด
พิจารณารูปที่ 1 จะเห็นว่ามีแรงที่กระทำต่อเชือกไปทางขวาอยู่ 10 N และแรงกระทำต่อปลายเชือกข้างซ้าย 5 N
จากกฎของนิวตัน

และสมมติให้แรงทางขวามีค่าเป็นบวก
เราจะได้ว่า

จะได้ค่าความเร่งออกมา
พิจารณารูปที่ 2 เราแบ่งเชือกเป็น

และจากกฎของนิวตัน

เราจะได้ว่า

(สมมติว่าเชือกมีมวลสม่ำเสมอ)
แทนค่า

จะได้

สำหรับกรณีที่เราต้องการหาค่าแรงตึงเชือกที่

นอกจากนั้นเรายังหาแรงตึงเชือกดังกล่าว ได้จากการพิจารณาเชือกท่อนขวาที่มีมวล


หรือ

และ

เราก็จะได้ค่า

เท่าเดิม ซึ่งก็ตรงตามกฎของนิวตันที่ว่า แรงปฏิกิริยา ย่อมมีขนาดเท่ากับ ขนาดของแรงกิริยา
สำหรับกรณีแรงตึงเชือกที่ตำแหน่งอื่น ก็ทำในทำนองเดียวกัน เพียงแต่เปลี่ยนตำแหน่งที่หาแรงตึงเชือกไปที่ตำแหน่งที่ต้องการ
