ขอตอบแยกทีละประเด็นนะ จะได้ไม่สับสน
หลอดแก้วรูปตัวยู เวลาใส่ของเหลวเช่นน้ำลงไป ต่อให้ขาไม่เท่ากัน แต่ระดับจะเท่ากันเสมอ เพราะอะไรครับ
ต้องรู้ว่า ที่ผิวบนของน้ำทั้งสองขา มีความดันเป็น

และต้องรู้ว่า สำหรับของไหลสถิตย์ จุดใดๆซึ่งอยู่ที่ระดับความลึกเดียวกัน ย่อมมีความดันเท่ากันเสมอ
สมการคือ

เมื่อ h คือความลึกวัดจากผิวบนสุด
(สามารถอ่านวิธีพิสูจน์สมการข้างบนได้ในหนังสือ young เล่ม 1 ที่อาจารย์ปิยพงษ์แปล

)
จากความรู้ดังกล่าว เราก็สามารถพิสูจน์ว่า ทำไมผิวน้ำจึงสูงเท่ากัน ดังต่อไปนี้
กำหนดให้

เป็นความดันที่ปลายหลอดด้านซ้าย , ปลายหลอดด้านขวา และก้นหลอด ตามลำดับ
กำหนดให้ ปลายหลอดด้านซ้าย และด้านขวา สูงจากก้นหลอดเป็นระยะ

ตามลำดับ
สามารถเขียนเป็นสมการได้ว่า


ความดันในหลอดคือความดันเกจ ซื้อมันขึ้นกับความสูงไม่ขึ้นกับ พื้นที่หน้าตัด
พูดถูกแล้ว
ถ้ามาคิดอีกที ความดันเกจ มันเกิดมาจาก นน. ของของเหลว
ยังไม่ถูกซะทีเดียว
เพราะจริงๆแล้ว ความดันคือ แรงในแนวตั้งฉาก
หารด้วยพื้นที่หน้าตัดดังนั้นต้องบอกว่า ความดันเกจ มันเกิดมาจาก นน. ของของเหลว หารด้วยพื้นที่หน้าตัด
ของเหลว มีปริมาตรไม่เท่ากัน เพราะพท.หน้าตัดไม่เท่า นน.ของเหลว2ข้างก็ต้องไม่เท่ากัน
ถูก แต่ขอเสริมให้นิดนึง
ถึงแม้พื้นที่หน้าตัดสองข้างไม่เท่ากัน แต่ความดันของจุดใดๆซึ่งอยู่ที่ความลึกเดียวกัน ก็ยังเท่ากัน
นน.ของเหลว2ข้างก็ต้องไม่เท่ากัน แต่ทำไมความสูงมันเท่ากันอ่า
พิสูจน์ให้ดูแล้วนะ
ปล. 1) อ่านแล้วช่วยตอบด้วยว่าเข้าใจรึปล่าว เพราะถ้าไม่ตอบเลย
ผมก็จะคิดว่าเจ้าของกระทู้ไม่สนใจสิ่งที่ผมแนะนำไป คราวหน้าผมก็จะไม่ช่วยเหลือ
2) เรื่องการตั้งกระทู้ผิดที่ เป็นนิสัยที่ไม่ดีนะ ถ้าไม่รีบด่วนจริงๆก็ไม่ควรทำแบบนี้อีก
