ดร.วิจิตรข้อ1เริ่มจากการ
หา Centre of Mass (อาจมีวิธีที่ง่ายกว่านี้ หากใครมีก็ลองโพสดูนะครับ

)
ดูรูปแรก จะได้ว่า

เนื่องด้วยความสมมาตร
ปัญหาอยู่ที่

โดยสามารถหาได้โดยการสมมติแถบมวลเล็กๆดังรูป และจะได้ว่ามวลเล็กๆนั้นมีค่า

จากนิยามจุดศูนย์กลางมวล


อินทิเกรตออกมา(ขอละการอินทิเกรตไว้เพื่อความกระทัดรัด

)
และรู้ว่า

เลยได้ว่า

ต่อด้วย
การหา"ชั่วขณะแห่งความขี้เกียจ"(Moment of inertia)รอบCM 
จากการที่รู้ว่าโมเมนต์ความเฉื่อยของแผ่นกลมรอบแกนตั้งฉากระนาบผ่านจุดศูนย์กลางมีค่า

เลยได้ว่าโมเมนต์ความเฉื่อยของแผ่นครึ่งวงกลมรอบแกนผ่านจุดกำเนิดโคออดิเนตของภาพแรก(จุดOของภาพหลัง)มีค่าเป็น

และจากทฤษฎีแกนขนาน จะได้ว่า
![\displaystyle{I_{cm} = I_o - My_{cm} ^2 = {1 \over 2}MR^2 - {{16} \over {9\pi ^2 }}MR^2 = \left\{ {{{9\pi ^2 - 32} \over {18\pi ^2 }}} \right\}\left[ {{{\pi \sigma R^2 } \over 2}} \right]R^2} \displaystyle{I_{cm} = I_o - My_{cm} ^2 = {1 \over 2}MR^2 - {{16} \over {9\pi ^2 }}MR^2 = \left\{ {{{9\pi ^2 - 32} \over {18\pi ^2 }}} \right\}\left[ {{{\pi \sigma R^2 } \over 2}} \right]R^2}](/forums/Sources/latex/pictures/4e584a8c457d4a13fa8dad6b7c14e976.png)
ตอบขั้นต่อไปคือการหาคาบการแกว่งความจริงมีหลายวิธี ผมจะลองวิธีใช้ทอร์กรอบจุดสัมผัสดู(ในห้องสอบผมใช้วิธีนี้ทำ

)
เริ่มด้วยการหาทอร์กรอบจุดสัมผัส
จากรูปใช้กฎโคไซน์หาระยะจากCMถึงจุดสัมผัส ได้ว่า

แต่ด้วยความที่มันแกว่งไปนิดหน่อย ก็ประมาณว่าโคไซน์นั้นมีค่าเป็น1 เลยได้ว่า

(ไม่รู้ว่าใช้senseในการเดาได้เหรอปล่าวว่าระยะที่ว่านี้สามารถประมาณเป็นdออกมาได้เลยโดยไม่ต้องใช้กฎโคไซน์)
จึงได้ว่า

โดยที่

เขียนสมการทอร์กออกมาได้ว่า

และระลึกว่าแกว่งนิดหน่อย

แต่จากรูปใช้เงื่อนไขการกลิ้งไม่ไถล ได้ว่า

เลยได้ว่า

แทนค่าทุกอย่างในสมการทอร์ก

ย้ายข้างให้อยู่ในรูปแบบของสมการฮาร์มอนิกอย่างง่าย และจะได้ว่า

แทนค่าให้อยู่ในตัวแปรที่โจทย์กำหนด จัดรูปให้สวยๆจะได้ว่า

และหาคาบออกมา
ตอบ