P o W i i
neutrino
Offline
Posts: 174
|
 |
« Reply #75 on: November 28, 2007, 06:34:53 PM » |
|
ข้อ 2 เมื่อวานว่าง ไปนั่งทำมาครับ ก็เลยกะมาเฉลยครับ ก่อนอื่นเราตั้งสมการโมเมนตัมในกรอบของผู้สังเกตนิ่งก่อนครับ เราได้ว่า ตอนแรกจรวดมีโมเมนตัม  เมื่อเวลาผ่านไป  โมเมนตัมในกรอบนี้จะเป็น จับสองสมการนี้มาเท่ากัน เราก็จะได้ว่า  โดยที่  ,  และ  ช่วยสงสารคนพิมพ์ด้วยนะครับ ผมขอข้ามเรื่องคณิตศาสตร์เลย จะได้ว่า  ดังนั้น เราก็จะได้ว่า  เมื่อินทีเกรทออกมาแล้วเราก็จะได้คำตอบ คำตอบเป็นดังนี้ (เราใช้ partial fraction ในการอินทีกราล)  ผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ ป.ล. ถ้าผมว่างอาจจะมาทำให้ละเอียดขึ้นครับ ความเร็วเชื้อเพลิงวัดเทียบอะไรนะครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Tung
neutrino
Offline
Posts: 210
Labor Omnia Vincit
|
 |
« Reply #76 on: November 28, 2007, 07:39:49 PM » |
|
โจทย์ข้อ 3 นี่มันอะไรกันแน่  โจทย์เดิมมีตอนที่ลูกกลมหลุดจากกระดาษด้วยไม่ใช่หรือ มันอาจหลุดก่อนที่จะถึงภาวะกลิ้งโดยไม่ไถลได้หรือเปล่า  คือ ผมให้  เป็นแรงเสียดทานที่กระทำกับลูกกลมทั้งตอนที่อยู่บนกระดาษและตอนที่หลุดจากกระดาษไปอยู่บนโต๊ะแล้วครับ และ ก็ให้  เป็นเวลาที่รวมทั้งสองช่วงแล้วครับ ได้รึเปล่่าครับ
|
|
« Last Edit: November 29, 2007, 08:39:50 PM by Tung »
|
Logged
|
ปญฺญาย ปริสุชฺฌติ คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #77 on: November 28, 2007, 11:03:30 PM » |
|
ข้อ 2 เมื่อวานว่าง ไปนั่งทำมาครับ ก็เลยกะมาเฉลยครับ ก่อนอื่นเราตั้งสมการโมเมนตัมในกรอบของผู้สังเกตนิ่งก่อนครับ เราได้ว่า ตอนแรกจรวดมีโมเมนตัม  เมื่อเวลาผ่านไป  โมเมนตัมในกรอบนี้จะเป็น จับสองสมการนี้มาเท่ากัน เราก็จะได้ว่า  โดยที่  ,  และ  ช่วยสงสารคนพิมพ์ด้วยนะครับ ผมขอข้ามเรื่องคณิตศาสตร์เลย จะได้ว่า  ดังนั้น เราก็จะได้ว่า  เมื่อินทีเกรทออกมาแล้วเราก็จะได้คำตอบ คำตอบเป็นดังนี้ (เราใช้ partial fraction ในการอินทีกราล)  ผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ ป.ล. ถ้าผมว่างอาจจะมาทำให้ละเอียดขึ้นครับ ความเร็วเชื้อเพลิงวัดเทียบอะไรนะครับ จรวดครับ จากสมการมันก็คือการแปลงโลเลนซ์นั่นเอง ถ้าผมเข้าใจอะไนผิดตรงไหนก็ขอให้ช่วยชี้แนะด้วยนะครับท่าน powii
|
|
|
Logged
|
|
|
|
P o W i i
neutrino
Offline
Posts: 174
|
 |
« Reply #78 on: November 29, 2007, 08:39:49 PM » |
|
ข้อ 2 เมื่อวานว่าง ไปนั่งทำมาครับ ก็เลยกะมาเฉลยครับ ก่อนอื่นเราตั้งสมการโมเมนตัมในกรอบของผู้สังเกตนิ่งก่อนครับ เราได้ว่า ตอนแรกจรวดมีโมเมนตัม  เมื่อเวลาผ่านไป  โมเมนตัมในกรอบนี้จะเป็น จับสองสมการนี้มาเท่ากัน เราก็จะได้ว่า  โดยที่  ,  และ  ช่วยสงสารคนพิมพ์ด้วยนะครับ ผมขอข้ามเรื่องคณิตศาสตร์เลย จะได้ว่า  ดังนั้น เราก็จะได้ว่า  เมื่อินทีเกรทออกมาแล้วเราก็จะได้คำตอบ คำตอบเป็นดังนี้ (เราใช้ partial fraction ในการอินทีกราล)  ผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ ป.ล. ถ้าผมว่างอาจจะมาทำให้ละเอียดขึ้นครับ ความเร็วเชื้อเพลิงวัดเทียบอะไรนะครับ จรวดครับ จากสมการมันก็คือการแปลงโลเลนซ์นั่นเอง ถ้าผมเข้าใจอะไนผิดตรงไหนก็ขอให้ช่วยชี้แนะด้วยนะครับท่าน powii ในโจทย์เค้าบอกว่า U เทียบกรอบไหนนะ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
P o W i i
neutrino
Offline
Posts: 174
|
 |
« Reply #79 on: November 29, 2007, 09:01:08 PM » |
|
ผมเข้าใจผิดเองครับ ขออภัย
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #80 on: December 01, 2007, 05:13:00 PM » |
|
รบกวนทุกๆท่านช่วยไปดู rep 69 หน่อยครับ ว่าผมทำผิดตรงไหน พอดีว่าผมทำใหม่แล้วไม่ได้เท่าเดิมครับ ช่วยดูด้วยนะครับ (วิธีเก่าผมไปหมกเอาไว้ที่ไหนก็ไม่ทราบแล้วครับ  )
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #81 on: December 01, 2007, 06:10:47 PM » |
|
รบกวนทุกๆท่านช่วยไปดู rep 69 หน่อยครับ ว่าผมทำผิดตรงไหน พอดีว่าผมทำใหม่แล้วไม่ได้เท่าเดิมครับ ช่วยดูด้วยนะครับ (วิธีเก่าผมไปหมกเอาไว้ที่ไหนก็ไม่ทราบแล้วครับ  ) ลองไปดู solution ที่ผมโพสต์ไว้ในมาราธอน เพราะแนวคิดมันคล้ายๆกัน http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/index.php/topic,861.msg11937.html#msg11937ผมคิดว่าวิธีเก่าของตั๊ว ยังไม่ถูก เพราะใช้การประมาณมากไป ปล. มีใครสนใจ "โครงการเฉลยข้อสอบปลายค่าย 2" บ้างครับ ถ้ามีคนสนใจเยอะๆ ผมจะได้ตั้งกระทู้ จะได้ช่วยกันเฉลยให้ครบทุกปี 
|
|
« Last Edit: December 04, 2007, 10:05:23 PM by Peeravit »
|
Logged
|
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #82 on: December 01, 2007, 06:23:45 PM » |
|
... ปล. มีใครสนใจ "โครงการเฉลยข้อสอบปลายค่าย 2" บ้างครับ ถ้ามีคนสนใจเยอะๆ ผมจะได้ตั้งกระทู้ จะได้ช่วยกันเฉลยให้ครบทุกปี  ผมหละหนึ่งคน  เฉลยของค่าย1ปีก่อนๆช่วยผมได้มากๆ คิดว่าของค่ายสองก็คงเป็นประโยชน์อีกเช่นกัน 
|
|
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #83 on: December 02, 2007, 01:53:30 AM » |
|
ขอด้วยครับ ขอบคุณมากครับ เพราะช่วงนี้ผมรู้สึกสับสนกับฟิสิกส์อย่างแรงเลยครับ  ช่วงนี้ผมกำลังสังสนกับตัวเองอยู่ว่าตกลงเข้าใจมันจริงๆรึเปล่า หรือว่าเราเข้าใจแล้วแต่ว่าไปเอาเรื่องอื่นมาปน หรือว่าเฉพาะโจทย์แปลกๆบางข้อที่ทำให้สับสน สรุปคือกำลัง psycho ตัวเองอยู่  ปล. แล้วที่ผมทำมานั่นคิดว่าถูกรึเปล่าครับ  ปปล. ทำไมไม่มีใครไปทำที่ marathon ต่อแล้วครับ ( ข้อที่ toaster ให้ทำผมไม่มั่นใจครับ )
|
|
« Last Edit: December 02, 2007, 01:58:55 AM by Mwit_Psycoror »
|
Logged
|
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #84 on: December 03, 2007, 07:23:07 PM » |
|
ตั้งกระทู้ไว้เรียบร้อย  ว่าแต่...ไม่มีใครมาเฉลยโจทย์ในกระทู้นี้ให้ครบเหรอครับ รู้สึกว่ายังเหลือ optics กับ thermo
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #85 on: December 03, 2007, 09:08:08 PM » |
|
....................................................
รู้สึกว่ายังเหลือ optics กับ thermo
จุดดับของชีวิตเลยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #86 on: December 03, 2007, 09:13:36 PM » |
|
Themodynamics and Kinetic Theoryอ.อนันตสินข้อ1หามวล  ของ1โมเลกุลก่อนเพื่อแทนหา  ได้ว่าแก๊ส1โมเลกุล มีมวล  แทนค่าในสูตรความเร็วเฉลี่ย(ขอละการพิสูจน์นะครับเพราะอาจารย์ใจดีบอกมาให้แล้ว  )  และได้ว่า1วินาที แก๊สจะออกมาจากรูรั่ว  ระลึกว่าหน่วยของ  ที่ตรงนี้เป็น  แล้วเพราะคูณ 1วินาทีอยู่ และที่หาร  ด้วย 2 ก็เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่ได้ 2 ทิศทางตรงรูรั่ว(ตอนสอบผมไม่ได้หารออก  ) เสริมอีกนิดครับเนื่องจากพี่พีรวิทย์แนะมาด้วยว่า ในทิศของการรั่ว(สมมติ+x) จะหา  โดยที่โจทย์ให้  ซึ่งเป็นความเร็ว ในทิศใดๆมาให้ จึงได้ว่า    เลยได้ว่าเปอร์เซนซ์ที่รั่วออกมาเป็น  แทนค่า  ได้ว่า รั่วออกมา ตอบ
|
|
« Last Edit: March 22, 2010, 05:49:55 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #87 on: December 04, 2007, 07:01:29 PM » |
|
....................... อินทีเกรทออกมาได้ ![\displaystyle {m = m_0 \left[ {u - \left( {1 + v\sqrt {1 - \frac{{u^2 }}{{c^2 }}} } \right)} \right]^{ - \left\{ {1 - \sqrt {1 - \frac{{u^2 }}{{c^2 }}} } \right\}} } \displaystyle {m = m_0 \left[ {u - \left( {1 + v\sqrt {1 - \frac{{u^2 }}{{c^2 }}} } \right)} \right]^{ - \left\{ {1 - \sqrt {1 - \frac{{u^2 }}{{c^2 }}} } \right\}} }](/forums/Sources/latex/pictures/a1d37bd24898531465ba37f0ebf3c7f6.png) .............. ตอบของเดิม............. เมื่ออินทีเกรทออกมาแล้วเราก็จะได้คำตอบ คำตอบเป็นดังนี้ (เราใช้ partial fraction ในการอินทีกราล)  ผมทำใหม่แล้วได้คำตอบไม่เท่าเดิม -_- ช่วยดูให้หน่อยนะครับ ผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ พี่คิดว่า ถ้าคำตอบมันถูก พอเราเอาคำตอบมาใส่เงื่อน
|
|
« Last Edit: December 04, 2007, 10:14:20 PM by Peeravit »
|
Logged
|
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #88 on: December 04, 2007, 09:10:09 PM » |
|
|
|
« Last Edit: September 28, 2014, 01:12:06 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #89 on: December 04, 2007, 10:02:33 PM » |
|
สัมพัทธภาพ ข้อ 2พิจารณาในกรอบนิ่งตั้งต้นของมัน สมมติว่าขณะที่เราพิจารณา เราพบว่าจรวดมีมวล m ความเร็ว v เมื่อเวลาผ่านไปช่วงสั้นๆ จรวดได้ปล่อยเชื้อเพลิงมวล -dm ออกมา ซึ่งถ้ามองในกรอบจรวด เชื้อเพลิงนี้มี โมเมนตัม  พลังงาน  โดยที่  เราหาโมเมนตัมของเชื้อเพลิงในกรอบนิ่งตั้งต้นได้จากสูตรการแปลง  แทนค่าได้  ตั้งสมการอนุรักษ์โมเมนตัม ในกรอบนิ่งตั้งต้น   ----(1) ใช้ความรู้แคลคูลัสเบื้องต้น  ---(2) กระจายอนุพันธ์ แล้วจะได้ว่า   ----(3) ใช้ผลจาก (2),(3) แทนลงใน(1) หารด้วย  ทั้งสมการ  พจน์หลังสามารถเขียนเป็น partial fraction จึงกลายเป็น เพื่อความสะดวก เราให้  แล้วจัดรูปต่อได้ว่า  2 พจน์หลัง เราสามารถเขียนเป็น partial fraction ได้ว่า  อินทิเกรตแล้วจัดรูปได้ ![\displaystyle \frac{m_o}{m}= \left[(1+K \beta)^{-2K} \frac{(1+\beta)^{1+K}}{(1-\beta)^{1-K}}\right]^{\dfrac{c}{2 \gamma_U U(1-K^2)}} \displaystyle \frac{m_o}{m}= \left[(1+K \beta)^{-2K} \frac{(1+\beta)^{1+K}}{(1-\beta)^{1-K}}\right]^{\dfrac{c}{2 \gamma_U U(1-K^2)}}](/forums/Sources/latex/pictures/2b6d68ef54c9a51179b97ee35219cf2d.png) ฝากให้เพื่อนๆช่วยแทนค่าตัวแปรแล้วจัดรูปให้สวยๆหน่อยครับ คราวนี้ลองมาเช็คกรณีที่  ซึ่งในกรณีดังกล่าวจะได้  ก็จะได้ 
|
|
« Last Edit: March 22, 2010, 05:54:32 PM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
|