Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #15 on: September 30, 2007, 06:56:50 PM » |
|
Thermodynamics2. ก) จาก  ---- (1) สมการ gas อุดมคติ  ระลึก  จึงได้  แทนค่าต่างๆ ใน (1) แล้วอินทิเกรต จะได้ ตอบข) ตอบค) ความจุความร้อนคือความร้อนที่เปลี่ยนไปหารด้วยอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป  ดังนั้น  ใช้กฎข้อที่ 1 ของ Thermodynamics จะได้  ตอบ
|
|
« Last Edit: September 18, 2014, 11:45:32 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #16 on: September 30, 2007, 06:58:41 PM » |
|
ในที่สุดก็ทำจนเสร็จ  ถ้าใครเห็นว่ามีที่ผิดตรงไหน หรือมีข้อเสนอแนะต่างๆ ก็เชิญโพสต์ได้เลยครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #17 on: October 01, 2007, 10:04:24 AM » |
|
3. ถ้า A อยู่นิ่งบนรถ B แสดงว่า Aและ B มีความเร่งเท่ากัน และ C ไม่มีความเร่งแนวดิ่ง เขียนสมการนิวตันสำหรับวัตถุแต่ละก้อน     ยังห้อยลงมาตรงๆเหรอครับ
|
|
« Last Edit: October 01, 2007, 10:31:01 AM by ปิยพงษ์ - Head Admin »
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #18 on: October 01, 2007, 07:16:02 PM » |
|
 ยังห้อยลงมาตรงๆเหรอครับ หลังจากที่เราออกแรงผลัก มวล C ก็จะเอียงทำมุมกับแนวดิ่งครับ ดังนั้นแรงที่เราออกเพื่อให้มวล A อยู่นิ่งบน Bก็ควรจะขึ้นอยู่กับขนาดของมุม  ที่มันเอียงไปด้วย แต่เนื่องจาก โจทย์บอกว่า "ถ้า ขณะที่ปล่อย ผลักรถไปทางขวาด้วยแรงขนาดหนึ่ง อาจทำให้รถ A อยู่นิ่งบน B ได้" ผมจึงเข้าใจว่า มันให้หาแรง ณ ขณะเริ่มต้น นั่นคือ  องศา ก็เลยคิดว่ามวล C ห้อยลงมาตรงๆครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #19 on: October 02, 2007, 12:02:44 AM » |
|
ลึกล้ำ........ ตามความรู้สึกของผม อยู่นิ่งคือ steady state นะครับ ส่วนแบบของคุณ peeravit ผมจะใช้ว่าหยุดนิ่งชั่วขณะมากกว่า ให้อาจารย์มาตอบดีกว่าครับ 
|
|
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #20 on: October 02, 2007, 07:16:30 AM » |
|
ลึกล้ำ........ ตามความรู้สึกของผม อยู่นิ่งคือ steady state นะครับ ส่วนแบบของคุณ peeravit ผมจะใช้ว่าหยุดนิ่งชั่วขณะมากกว่า ให้อาจารย์มาตอบดีกว่าครับ  น่าจะเป็นอย่างที่แชมป์ว่า ถ้าตอนตั้งต้นเป็นอย่างที่พีรวิทย์ทำ ที่เวลาต่อมาก้อน C คงแกว่งไปมา และก้อนบนต้องไถลด้วย 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #21 on: October 02, 2007, 02:14:46 PM » |
|
ลึกล้ำ........ ตามความรู้สึกของผม อยู่นิ่งคือ steady state นะครับ ส่วนแบบของคุณ peeravit ผมจะใช้ว่าหยุดนิ่งชั่วขณะมากกว่า ให้อาจารย์มาตอบดีกว่าครับ  น่าจะเป็นอย่างที่แชมป์ว่า ถ้าตอนตั้งต้นเป็นอย่างที่พีรวิทย์ทำ ที่เวลาต่อมาก็น C คงแกว่งไปมา และก้อนบนต้องไถลด้วย  อืมครับ งั้นผมจะแสดงวิธีทำแบบที่เป็น steady state ด้วย ส่วนวิธีทำเดิมก็ยังคงเก็บไว้ กลศาสตร์ (อ.วิจิตร)3) หลังจากที่เราออกแรงผลักขนาดหนึ่งเพื่อให้รถ A อยู่นิ่งบนรถ B , มวล C ก็จะเริ่มเบนทำมุมกับแนวดิ่ง เราจึงจำเป็นต้องเปลี่ยนขนาดของแรงที่ออก เพื่อให้รถ A ยังคงอยู่นิ่งบนรถ B ได้ เมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่ง มุมเบนมีค่าคงที่ แรงที่ออกจึงมีค่าคงที่ เราต้องการหาว่าแรงที่คงที่ มีขนาดเป็นเท่าไร ? วิธีทำ เขียนสมการนิวตันของมวลแต่ละก้อน     แก้สมการได้ ตอบปล.คำตอบที่ได้ เหมือนกับการมองแบบลัดๆว่า แรงนี้ทำให้ระบบมวล A B C เคลื่อนที่ไปพร้อมกันด้วยความเร่ง 
|
|
« Last Edit: October 02, 2007, 09:32:56 PM by Peeravit »
|
Logged
|
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #22 on: October 10, 2007, 04:51:34 PM » |
|
ข้อ 2 ของ wave ใช้ fermat's principle ได้ไหมครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #23 on: October 10, 2007, 05:11:21 PM » |
|
ข้อ 2 ของ wave ใช้ fermat's principle ได้ไหมครับ
ลองแสดงวิธีทำมาให้ดูสิ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Mwit_Psychoror
|
 |
« Reply #24 on: October 12, 2007, 11:47:44 PM » |
|
วิธีทำข้อ 2สมมุติว่าหากว่าแสงสามารถเดินทางได้เป็นเส้นโค้ง เวลาที่แสงใช้เดินทาง 1 รอบคือ  โดยที่  ดังนั้น เราจะได้ว่า  จาก fermat's principle ได้ว่า  ได้ว่า ![\displaystyle {{d \over {dr}}t = {{2\pi } \over c}\left[ { - {1 \over 4}re^{{{R - r} \over 4}} + e^{{{R - r} \over 4}} } \right] \equiv 0} \displaystyle {{d \over {dr}}t = {{2\pi } \over c}\left[ { - {1 \over 4}re^{{{R - r} \over 4}} + e^{{{R - r} \over 4}} } \right] \equiv 0}](/forums/Sources/latex/pictures/541c3b726b17b9ac1c14055a0a91595a.png) จัดรูปสมการก็จะได้  ก็จะได้ว่า  ครับ ไม่รู้ว่าหลักการนี้ใช้ได้ตริงหรือว่าเป็นหลักที่มั่วๆครับ ช่วยตอบด้วยครับ ขอบคุณครับ
|
|
« Last Edit: October 22, 2008, 12:09:38 AM by Mwit_Psycoror »
|
Logged
|
|
|
|
Conqueror
neutrino
Offline
Posts: 172
Scientology
|
 |
« Reply #25 on: January 02, 2008, 09:30:54 PM » |
|
...  ... ผมยังงงสมการตัวนี้ครับ ว่าทำไมถึงไม่เป็น เพราะแรงตึงเชือกมันไม่ได้ทำกับมวล B โดยตรงไม่ใช่หรอครับ หรือถ้าจะพิจารณาแรงตึงด้วยก็น่าจะมองวัตถุเป็นก้อนรวมกันหมดแล้วได้ว่า หรือว่า เพราะมันกระทำกับมวล B ตรงรอก ช่วยไขข้อสงสัยให้ผมทีนะครับ
|
|
« Last Edit: January 02, 2008, 09:34:55 PM by Conqueror »
|
Logged
|
SKN#27 :: สุวิชาโน ภวํ โหติ ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #26 on: January 02, 2008, 10:15:04 PM » |
|
|
|
« Last Edit: January 02, 2008, 10:58:52 PM by Great »
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #27 on: January 02, 2008, 10:25:00 PM » |
|
...  ... ผมยังงงสมการตัวนี้ครับ ว่าทำไมถึงไม่เป็น เพราะแรงตึงเชือกมันไม่ได้ทำกับมวล B โดยตรงไม่ใช่หรอครับ ของเก่าผมทำลัดไปหน่อย จะลองทำแบบตรงไปตรงมาหล่ะกัน เราแบ่งวัตถุออกเป็นสองชิ้น คือ มวล B กับรอก /tex] แต่สำหรับโจทย์ข้อนี้ เราถือว่ารอกนั้นเบา นั่นคือ  ดังนั้น  .................... หรือถ้าจะพิจารณาแรงตึงด้วยก็น่าจะมองวัตถุเป็นก้อนรวมกันหมดแล้วได้ว่า หรือว่า เพราะมันกระทำกับมวล B ตรงรอก ช่วยไขข้อสงสัยให้ผมทีนะครับ การมองแบบรวมเป็นระบบ หรือมองว่าทุกอย่างเป็นก้อนเดียวกัน มันเป็นวิธีลัดที่ช่วยให้หาคำตอบได้เร็ว สำหรับโจทย์บางข้อเท่านั้น บางข้อก็ใช้วิธีขี้โกงแบบนี้ไม่ได้ และวิธีนี้ก็ไม่ช่วยให้เข้าใจฟิสิกส์ได้ดีขึ้นด้วย ทางที่ดีควรตั้งต้นจากสมการนิวตันสำหรับวัตถุแต่ละก้อนครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #28 on: January 02, 2008, 10:36:33 PM » |
|
|
|
« Last Edit: January 02, 2008, 10:54:52 PM by Great »
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
Peeravit
neutrino
Offline
Posts: 295
|
 |
« Reply #29 on: January 02, 2008, 11:27:06 PM » |
|
ผมว่านะ ถ้าพวกเราทำอะไรตรงไปตรงมาตามที่ อ.ปิยพงษ์ ท่านได้สอนไว้  เราจะเป็นคนมีเหตุผลมากขึ้น และเข้าใจฟิสิกส์ได้ดีขึ้นด้วย  ผมว่า แรงตึงเชือก  ไม่น่าจะทำให้เกิดความเร่งแก่รอกนะครับ ผมว่า แค่ทำให้รอกหมุนเท่านั้น ลองนึกภาพ วางรอกไว้เฉยๆ เอาเชิอกไปพาดแล้วดึงในแนวระดับไปมา ถ้ารอก"ลื่น" จริง รอกต้องไม่ขยับไปไหน เพียงแต่ว่า หมุนไปเท่านั้น นี่คือที่ผมคิดนะครับ  ช่วยตรวจสอบด้วยครับว่าที่ผมคิดนั้นถูกผิดอย่างไรครับ   - แรงทำให้เกิดความเร่ง ตามกฎของนิวตัน - คำว่า ลื่น แปลว่า ไม่มีแรงเสียดทาน ไม่ได้แปลว่า เอาเชือกไปพาด แล้วจะไม่หมุน ถ้าว่างๆ Great ลองไปทำโจทย์ ข้อรอกฝืด ในหนังสือ สอวน เล่ม 1 ดูสิ อาจจะทำให้เข้าใจเรื่องรอก ได้ดีขึ้น 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
|