ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #15 on: August 10, 2007, 08:40:50 PM » |
|
ผมไม่เข้าใจว่าถ้าอย่างนี้ สปริงข้างที่ไม่ได้ถูกจับไว้ก็เหมือนมีแรงดึงไม่ใช่เหรอครับ (เพราะถ้าไม่งั้นมือที่จับปลายข้างนั้นก็ต้องเคลื่อนที่ตามไปด้วย)
อ๋อ ผมหมายถึงว่าหลายอีกข้างไม่มีได้มือจับไว้ครับ คือแรงกระทำเป็น0
|
|
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
baron
neutrino
Offline
Posts: 21
|
 |
« Reply #16 on: August 11, 2007, 06:20:54 PM » |
|
คือถ้าไม่มีมือจับไว้ สปริงด้านนั้นก็จะเคลื่อนตามสปริงอีกด้านหนึ่งไปไม่ใช่เหรอครับ 
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #17 on: August 11, 2007, 08:10:56 PM » |
|
ใช่ครับ แต่แรงนั้นก็มีขนาดน้อยมาก เหมือนกับเราจะลากวัตถุที่เบามากๆๆๆก็จะใช้แรงน้อยมาก ถ้าเราพิจารณาแค่ปลายสปริงแปลว่าเราพิจารณาแค่ส่วนของปลายยยปริงซึ่งนั่นมีมวลน้อยมาก จึงใช้แรงน้อยมากเข้าใกล้0ถึงจะทำให้มีความเร่งได้
|
|
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
baron
neutrino
Offline
Posts: 21
|
 |
« Reply #18 on: August 12, 2007, 03:26:40 PM » |
|
แต่ถ้าแรงนั้นมีขนาดน้อยมาก สปริงส่วนนั้นจะไม่โดนดึงไปโดยแรงที่มากกว่าจากด้านขวาเหรอครับ (สมมติว่าเราดึงจากด้านขวานะ)
คือผมพยายามนึกภาพเป็นมวลหลายๆอันผูกต่อกัน อย่างที่คุณ G ได้แสดงไว้ แต่ถ้าแรงที่มือจับด้านซ้ายไว้นั้นมันน้อยมาก ด้านซ้ายก็น่าจะโดนดึงไปอยู่ดีไม่ใช่เหรอครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #19 on: August 12, 2007, 07:18:30 PM » |
|
ผมกำลังสงสัยภาพที่คุณ baron คิดอยู่ ถ้าดึงไปด้านขวา ก็ผมบอกว่าอีกด้านหนึ่งไม่มีแรงกระทำ ด้านซ้ายก็ไม่มีมือจับไว้สิครับ แล้วไหงมีแรงจากด้านซ้ายหละครับ
แล้วปลายด้านซ้ายก็โดนดึงไปด้านขวาไม่ใช่หรอครับ
|
|
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
baron
neutrino
Offline
Posts: 21
|
 |
« Reply #20 on: August 12, 2007, 07:28:31 PM » |
|
แล้วปลายด้านซ้ายก็โดนดึงไปด้านขวาไม่ใช่หรอครับ
อ่า ก็ถ้าไม่มีมือจับก็ใช่สิครับ แล้วสปริงก็จะไม่ยืดสิครับ แล้วจะมีการคำนวณว่าสปริงยืดเป็นครึ่งหนึ่งของกรณีมีแรงดึงสองข้างได้ยังไงล่ะครับ (อย่างที่คุณ G ทำ)
|
|
|
Logged
|
|
|
|
Great
|
 |
« Reply #21 on: August 12, 2007, 08:17:55 PM » |
|
แล้วปลายด้านซ้ายก็โดนดึงไปด้านขวาไม่ใช่หรอครับ
อ่า ก็ถ้าไม่มีมือจับก็ใช่สิครับ แล้วสปริงก็จะไม่ยืดสิครับ แล้วจะมีการคำนวณว่าสปริงยืดเป็นครึ่งหนึ่งของกรณีมีแรงดึงสองข้างได้ยังไงล่ะครับ (อย่างที่คุณ G ทำ) ผมว่าพี่champ บอกไว้ชัดเจนแล้วนะครับว่าทำไม  ลองอ่านดูตั้งแต่ต้นดีๆจะรู้ว่า... เราไม่ได้มองแค่ที่ปลายสปริงนิครับ แต่เรามองทั้งอันเลย  (รายละเอียดกลับไปอ่านตั้งแต่ต้นก็จะรู้)(จากที่โพสมาเหมือนกับว่ายังไม่ได้อ่านเลย  )
|
|
|
Logged
|
ถ้าวิทย์แข็งแรง-->การเมืองก็แข็งแรง-->ประเทศชาติก็แข็งแรง CUD'44 * APhO9th Ulaanbaatar MNG * CA901* Gold 10thAPhO * Silver 40th IPhO SNSD: GG-TH SeoHyun Family & SeoRi Home
|
|
|
ccchhhaaammmppp
|
 |
« Reply #22 on: August 12, 2007, 08:21:05 PM » |
|
สปริงส่วนเล็กๆด้านซ้ายสุดไม่ยืดครับ แต่ส่วนต่างๆในสปริงยืดในอัตราที่ไม่เท่ากัน โดยส่วนที่ยืดมากที่สุดคือปลายที่มีแรงกระทำ
ดูจากรูปว่าสมมติมีแรงกระทำ 30 นิวตันที่ปลายด้านขวา ในแต่ละส่วนของปลายสปริงจะโดนแรงไม่เท่ากัน โดยแรงจะ ลดลงแบบเชิงเส้น ไปจนถึง0 เห็นตรงส่วนที่ถูกดึงด้วยแรง 20 N กับ 10 N มั้ยครับ ส่วนที่อยู่ปลายด้านขวาจะยืดเป็น3เท่าของตรงที่ถูกยืดด้วยแรง 10 N และส่วนปลายซ้ายจะแทบไม่มีแรงกระทำอยุ่เลย
หรือพูดง่ายๆว่า สาเหตุที่มันยืดเพราะ ส่วนต่างๆของสปริงต่างก็ยืด หากเราจะคิดเพียงปลายด้านหนึ่งนั้น ปลายด้านซ้ายไม่ยืด แต่ส่วนอื่นๆก็ยืด
|
|
|
Logged
|
สาธิตจุฬาCUD42 , 37-38th IPhO , 08' Monbusho Scholar , CUIntania91 , UCE17/19/21
|
|
|
x-prime
neutrino
Offline
Posts: 6
|
 |
« Reply #23 on: March 25, 2008, 03:27:27 PM » |
|
สงสัยครับช่วยตอบที ถ้ามีวัตถุบางอย่างที่บางมาก(ประมาณกระดาษหรืออาจบางกกว่า)พอที่จะประมาณว่าความเค้นที่จุดนั้นมีขนาดเดียวกันและมีแรงF1ที่ด้านซ้าย และแรงF2ทำที่ด้านขวา แรงทั้งสองกระทำทั่วพื้นที่หน้าตัด A ของวัตถุ และแรง F2 มีขนาดมากกว่า F1 และวัตถุมีความเร่ง a ไปทางขวาอยากถามว่าความเค้นจะเป็นเท่าไหร่ครับ ขออธิบายอย่างละเอียดทีครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
NiG
|
 |
« Reply #24 on: March 25, 2008, 05:04:28 PM » |
|
ขอลองทำดูนะครับ ลองนึกภาพว่ามีมวลหลายๆอันผูกเชือกต่อๆกัน โดยที่มวลแต่ละก้อมีค่าเท่ากับ  ส่วนแรงตึงเชือ ลองดูืที่เคยตอบไปแล้วตรงนี้ครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
x-prime
neutrino
Offline
Posts: 6
|
 |
« Reply #25 on: March 31, 2008, 07:13:27 PM » |
|
แล้วFที่ใช้กับdmเป็นF1 หรือ F2 ครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
NiG
|
 |
« Reply #26 on: April 01, 2008, 02:22:03 AM » |
|
แล้วFที่ใช้กับdmเป็นF1 หรือ F2 ครับ
ที่ผมทำไปมันเป็นกรณีที่แรงด้านซ้ายกับด้านขวามีแรงกระทำไม่เท่ากันครับ มันจะประยุกต์เอาไปใช้กับคำถามนี้ได้ ไม่ลองคิดดูก่อนหรอครับ ถ้าหากคิดแล้วไม่แน่ใจว่าถูกรึเปล่า ก็มาโพสวิธีทำในนี้ก็ได้ มีคนช่วยตรวจอยู่แล้ว ผมคิดว่าการลองคิดด้วยตัวเองก่อนถามคนอื่นมันเป็นความท้าทายอย่างนึงนะ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
x-prime
neutrino
Offline
Posts: 6
|
 |
« Reply #27 on: April 01, 2008, 07:54:08 PM » |
|
ก็ยังงอยู่ดีครับที่ให้แรงเป็นแรงตึงเชือก(T)ผมจินตนาการไม่ค่อยถูกแล้วที่คุณประมาณว่าชิ้นส่วนเล็กภายในช่วงx ถึง x+dx แรง T คงที่แต่ที่ผมสมมุติคือแรงที่ทำต่อชิ้นส่วนเล็กถูกกระทำด้วยแรงF1 และ F2 คนละข้างครับ ก็เลยงง
ถ้าเป็นไปได้ช่วยอธิบายในรูปของตัวแปรที่ผมกำหนดจะขอบคุณยิ่งครับ
|
|
|
Logged
|
|
|
|
CanonX
neutrino
Offline
Posts: 191
|
 |
« Reply #28 on: February 11, 2012, 02:40:36 PM » |
|
จากกระทู้ http://mpec.sc.mahidol.ac.th/forums/index.php/topic,1881.0.htmlถ้าเกิดมีแรง  และ  ดึงปลายแต่ละปลายของลวดยาว  พื้นที่หน้าตัด  เส้นหนึ่ง โดยที่  จะได้ความเค้นเฉลี่ยในเส้นลวด มีค่า  ใช่หรือไม่ครับ? รบกวนช่วยตอบหน่อยนะครับ  และที่ปลายข้างที่มีแรง  กระทำ จะมีึความเค้น  และปลายข้างที่มีแรง  กระทำ จะมีึความเค้น  ใช่หรือไม่ครับ? ขอบคุณล่วงหน้าครับ 
|
|
« Last Edit: February 11, 2012, 07:59:44 PM by CanonX »
|
Logged
|
|
|
|
ปิยพงษ์ - Head Admin
|
 |
« Reply #29 on: February 11, 2012, 08:49:26 PM » |
|
... จะได้ความเค้นเฉลี่ยในเส้นลวด มีค่า  ใช่หรือไม่ครับ? รบกวนช่วยตอบหน่อยนะครับ  ... ธรรมดา นิยามความเค้นเฉลี่ยใช้กับพื้นที่ตัดขวางที่หนึ่ง มีค่าเท่ากับแรงทั้งหมดที่ทำตั้งฉากกับพื้นที่ตัดขวางนั้นหารด้วยขนาดของพื้นที่ตัดขวาง (ถ้าเป็นความเค้นเฉือนจะเป็นแรงในแนวขนานกับผิว) สำหรับคำถามที่ถามมา เราต้องให้นิยามความเค้นเฉลี่ยในเส้นลวดมาว่าคืออะไร ใช้วัดอะไร ถ้าไม่บอกมาก็ไม่มีใครทำได้ 
|
|
|
Logged
|
มีน้ำใจ ไม่อวดตัว มั่วไม่ทำ
|
|
|
|