แม้คุณจะไม่รู้จัก แคลคูลัส คุณก็สามารถทำข้อเก้า ได้โดยดู กำหนดให้ในหน้าแรก

ส่วนข้อสิบนั่น เราอาศํยความรู้ทางตรีโกณเล็กๆ ว่า การทีมุมมันต่างกันนี่ มันจะทำให้ ค่าเริ่มต้นของ ฟังชันก๋ไชน์เปลี่ยนไปเท่าไร
แล้วข้อสิบเอ็ด ข้อนี่เลียนแบบข้อสอบ สสวท.รอบ สอง ปี2546 ถ้าจำไม่ผิด แนะ วาดรูปดูแล้วลองสมมติว่าที่ความสูงใดๆ มีอะไรอยู๋บ้าง

ข้อสิบห้า ไปดูของ ม.สี่ มันใช้สองความรู้ คือเรื่องโมเมนความเฉื่อย กับกาขยายตัวของโลหะ
ข้อสิบหก ปราณี ให้หาแบบ rms ข้อนี้ คุณต้องรู้ ว่าความต้านทานของตัวเก็บประจุและลวดตัวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเป็นอย่างไร
หมายเหตุ ข้อ เจ็ด สิ่งที่จะทำให้คุณคิดได้ง่ายขึ้นและเร็วขึ้น คือ คุณต้องรู้ว่า ผลบอกความเร็วของแต่ละวัตถุก่อนชนหลังชนเท่ากัน

เมื่อ

เป็นความเร็วของวัตถุก้อนแรกก่อนชน

เป็นความเร็วของวัตถุก้อนสองก่อนชน

เป็นความเร็วของวัตถุก้อนแรกหลังชน

เป็นความเร็วของวัตถุก้อนหลังหลังชน ซึ่งสมการนี้เป็นสมการเวกเตอร์ จะใช้ระวังหน่อย

แนะไปพิสูจน์มา แล้วที่ลืมไม่ได้เลย สูตรนี้ใช้กับพลังงานจลน์คงที่
