ขอโทษนะครับ อาจจะพิมพ์ชุ่ยไปนิด
จากรูป พลังงานศักย์มีเพียงพลังงานศักย์ยืดหยุ่นจากสปริง(ให้พลังงานศักย์โน้มถ่วงเทียบกับระนาบโต๊ะนี้จึง=0)
ให้ความยาวธรรมชาติของสปริงนี้เป็น

จากรูป พลังงานศักย์สปริงคือ

----------------1
ทีนี้เรามาหาพลังงานจลน์ ซึ่งเราน่าจะพอรู้ว่าพลังงานจลน์ของ M คือ

---------2
เนื่องจากส่วนต่างๆของสปริงมีความเร็วไม่เท่ากัน ถ้าเราคิดให้สปริงยืดอย่างสม่ำเสมอ ความเร็วที่ตำแหน่ง w
=

เราจึงได้พลังงานจลน์ของมวล dm ที่ตำแหน่ง w เป็น


-------3
ถ้าให้มวลของสปริงสม่ำเสมอจะได้มวล

แทนค่าในสมการที่3

พลังงานจลน์ของทั้งสปริงคือ


-----------------------4
จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน

นำสมการ1 2 4มาใส่


เพื่อให้ง่ายเราก็เอากรอบอ้างอิงของเราไปตั้งที่ตำแหน่งของความยาวธรรมชาติ แล้วพจน์ kl จะเป็น0
ทำคล้ายๆกับพี่ทำแหละครับ เพียงเพิ่มพจน์ l ขึ้นมา
ถ้าพี่ลองให้เป็นสปริงในแนวระดับจะมีค่าคงตัวหลุดออกมาเยอะกว่านี้ ถ้าเราจะคิดคาบเราก็ไม่ต้องคิดส่วนที่เป็นค่าคงตัวเพราะเราสามารถเปลี่ยนกรอบอ้างอิงได้