จากรูป แบ่งเป็นสามช่วง(ตามเส้นประ จากซ้ายไปขวา) ช่วงแรกคือช่วงตอนที่ลูกเหล็กกระทบพื้น เป็นแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ จึงกระดอนขึ้นด้วยอัตราเร็ว

เท่าเดิม
ทีนี้ช่วงที่สอง ลูกเหล็กกำลังจะกระทบลูกบอล(ลูกปิงปอง) วิธีแรกคือใช้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมในกรอบอ้างอิงเทียบกับพื้นตรงๆ (ทำให้ดูทีหลัง) แต่ทีนี้ เราสามารถคิดในใจก็ได้คำตอบ โดยให้เราเปลี่ยนไปอยู่ในกรอบของลูกเหล็ก(คิดซะว่าเราเกาะลูกเหล็กอยู่) พบว่าลูกปิงปองวิ่งด้วยอัตราเร็วเป็น

(นึกง่ายๆ ลูกเหล็กกำลังเคลื่อนที่"เข้าหา"ลูกปิงปอง เลยทำให้"มองเห็น"ลูกปิงปองใน"กรอบลูกเหล็ก" วิ่งเร็วขึ้น) เนื่องจากลูกเหล็กมวลมากกว่าลูกปิงปองมากๆ จึงทำให้ลูกเหล็กเสมือนเป็นกำแพงดีๆนี่เอง ลูกปิงปองจึงกระดอนกลับออกไปด้วยอัตราเร็ว

เท่าเดิม "ในกรอบอ้างอิงของลูกเหล็ก"
ทีนี้ช่วงที่สาม เราเอาอัตราเร็ว

นี้ไปใช้ไม่ได้ เพราะว่าเราวัดเทียบลูกเหล็กอยู่ ไม่ได้วัดเทียบพื้น ต้องแปลงกรอบกลับไปกรอบพื้นซะก่อน ซึ่งเป็นกรอบที่เห็นลูกเหล็กวิ่งขึ้นด้วยอัตราเร็ว

ในทิศขึ้น ดังนั้น จะเห็นลูกปิงปอง "หลังกระทบลูกเหล็ก"แล้ว วิ่งด้วยอัตราเร็ว

ในทิศขึ้น เอาอัตราเร็วนี้ไปคำนวณความสูงที่ขึ้นไปได้ ด้วยหลักอนุรักษ์พลังงาน ก็ได้คำตอบอย่างที่แสดงให้ดูครับ

ปล. วิธีอนุรักษ์โมเมนตัมโดยตรงจากตอนที่ 1 ทำได้ดังนี้ (ไม่ต้องสนใจช่วงที่สอง)

(ให้ทิศขึ้นเป็นทิศบวก)
เมื่อ

คือมวลของลูกปิงปอง,ลูกเหล็ก ความเร็วของลูกปิงปอง, ลูกเหล็ก ตามลำดับ
และพลังงานจลน์อนุรักษ์

แก้ระบบสองสมการนี้เพื่อหา

(สมการกำลังสอง) จะได้ว่า

ถ้าประมาณว่า

มากกว่า

มากๆ ก็จะได้ว่า
